T20212079612189:หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย หลักสูตรใหม่(พ.ศ. 2564)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรใหม่    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรใหม่ 2 ระดับ (โท – เอก)  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   25/06/2564  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2564
   หลักสูตรสังกัดคณะ   มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.    
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.    
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Education Program in Teaching Thai Language  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : สถานที่จัดการเรียนการสอนอื่นๆ (โปรดระบุ):มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ข
ปริญญาโท แบบ ก2
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตMaster of Educationศษ.ม.M.Ed.การสอนภาษาไทย
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

    3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร 

                    แผน ก แบบ ก2, ก2

หมวดวิชา

แผนการศึกษา

 

กลุ่มที่ 1 แผน ก แบบ ก2

(ไม่ประสงค์ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู )

กลุ่มที่ 2 แผน ก แบบ ก 2

(ประสงค์ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู )

รายวิชาไม่นับหน่วยกิต

-

-

หมวดวิชาบังคับพื้นฐาน

9

9

หมวดวิชาบังคับเฉพาะสาขา

9

9

หมวดวิชาชีพครู

-

18

หมวดวิชาเลือก

9

9

วิทยานิพนธ์

12

12

รวม

39

57

 

                    แผน ข

หมวดวิชา

แผนการศึกษา

 

รายวิชาไม่นับหน่วยกิต

-

หมวดวิชาบังคับพื้นฐาน

9

หมวดวิชาบังคับเฉพาะสาขา

9

หมวดวิชาชีพครู

-

หมวดวิชาเลือก

12

สารนิพนธ์

6

รวม

36

 

หมายเหตุ  1. นักศึกษาทุกคนต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา สัมมนาวิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิต โดยไม่นับหน่วยกิต ประเมินผลเป็น S/U ทุกภาคการศึกษาตั้งแต่ภาคการศึกษาแรกเข้าจนกว่าจะสำเร็จการศึกษา

 


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ข36
ปริญญาโท แบบ ก239,57

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร T20212079612189:หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย หลักสูตรใหม่(พ.ศ. 2564)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 2  ปี 2564  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
17/08/2022 11:21:09384.08 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์ณัฐกิตติ์ สิริวัฒนาทากุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์บัญชา เกียรติจรุงพันธ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์อรรถพงษ์ ผิวเหลืองวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: พธ.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์ณัฐกิตติ์ สิริวัฒนาทากุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์บัญชา เกียรติจรุงพันธ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์อรรถพงษ์ ผิวเหลืองวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: พธ.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี

การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ระยะเวลาในการศึกษา 8 สัปดาห์ ทั้งนี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สภาวิชาการกำหนด และการพิจารณาของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

 
       
     
   

T20212079612189:หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย หลักสูตรใหม่(พ.ศ. 2564)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1มีคุณธรรมจริยธรรมสำหรับครู เช่น กัลยาณมิตรธรรม 7
 2มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพครู ที่กำหนดโดยองค์กรวิชาชีพ คือ คุรุสภา
 3เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
 4มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 5อนุรักษ์และสืบสานภาษาไทยในฐานะเป็นมรดกทางวัฒนธรรม
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการศึกษา ปรัชญาการศึกษา วิชาชีพครู ความเป็นครู การบริหารการศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในแต่ละระดับการศึกษาและวิชาเอก
 2มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับจิตวิทยาพัฒนาการและการเรียนรู้ จิตวิทยาการศึกษา จิตวิทยาครูสำหรับการจัดการเรียนรู้ในแต่ละระดับการศึกษาและวิชาเอก
 3มีความรู้ความเข้าใจในการออกแบบและหลักการพัฒนาหลักสูตร ออกแบบและจัดการเรียนรู้ การวิจัยทางการศึกษาและการวัดและประเมินผลวิชาภาษาไทยในแต่ละระดับการศึกษาและการศึกษาพิเศษ
 4มีความรู้และความสามารถในการจัดการชั้นเรียนและการจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ในแต่ละระดับการศึกษาและวิชาเอก
 5มีความรู้และความสามารถในการพัฒนานวัตกรรม รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารทางการศึกษาสำหรับการจัดการเรียนรู้ในแต่ละระดับการศึกษาและวิชาเอก
 6มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีวรรณคดี วรรณกรรม คติชนวิทยา
 7มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการใช้ภาษาไทย
 8สามารถวิเคราะห์สภาพปัญหา พัฒนาการและแนวโน้มทางด้านหลักสูตร การสอน วรรณคดี วรรณกรรม ตลอดจนการใช้ภาษาไทย
 9สามารถติดตามความก้าวหน้าของความรู้ด้านหลักสูตร การสอน วรรณคดี วรรณกรรม การใช้ภาษา และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1สามารถค้นหาข้อเท็จจริง คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดแก้ปัญหา ประเมินค่าข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายได้อย่างเป็นระบบและสามารถนำไปประยุกต์ในการปฏิบัติงานสอน รวมทั้งวินิจฉัยผู้เรียนและวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
 2สามารถนำความรู้เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี และหลักการที่เกี่ยวข้องไปใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนานักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา
 3สามารถวิจัยเพื่อแก้ปัญหาในชั้นเรียน ขยายผลและต่อยอดองค์ความรู้ด้านหลักสูตรและการสอนภาษาไทย
 4สามารถเป็นผู้นำในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยทุกระดับ
 5สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์งานวิจัย บทความ สิ่งพิมพ์ทางวิชาการ รายงานทางวิชาชีพจากเอกสารและระบบ online เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1มีความไวในการรับรู้ความรู้สึกและเข้าใจธรรมชาติของผู้เรียน บุคลากรทางการศึกษา มีวุฒิภาวะทางอารมณ์และสังคม
 2มีความเอาใจใส่ ช่วยเหลือ แก้ปัญหาของผู้เรียนอย่างสร้างสรรค์
 3สามารถวางแผนทำงานและแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนทางวิชาชีพได้
 4มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน เป็นผู้นำและผู้ตามที่มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1มีความสามารถในการวิเคราะห์ เข้าใจ ประมวลผล แปลความหมายและเลือกใช้ข้อมูลสารสนเทศจากผู้เรียนและที่เกี่ยวกับวิชาที่สอนได้ดีและรวดเร็ว
 2สามารถเลือกและประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการศึกษา ค้นคว้าและการวิจัย
 3สามารถใช้ภาษาสื่อสารกับผู้เรียนและบุคลากรทางการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 4มีดุลยพินิจในการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสอนและนำเสนอผลงาน
[Collapse]หัวข้อ: 6 ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
 1มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ที่มีรูปแบบหลากหลาย ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการ (Formal) รูปแบบกึ่งทางการ (Non-formal) และรูปแบบไม่เป็นทางการ (Informal) อย่างสร้างสรรค์
 2มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนที่หลากหลาย ทั้งผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ ผู้เรียนที่มีความสามารถปานกลาง และผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษอย่างมีนวัตกรรม
 3มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ในวิชาเอกที่จะสอนอย่างบูรณาการ
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวศาสตร์การสอน นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน วิจัยทางการสอนด้านภาษาไทย ศึกษาค้นคว้าทั้งทางด้านภาษาศาสตร์ สมรรถนะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร และวรรณคดีและวรรณกรรม ตลอดจนคติชนวิทยา นำมาบูรณาการกับการเรียนการสอนภาษาไทย มีคุณธรรมและจริยธรรม
2นักศึกษาประยุกต์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์งานวิจัยทางศาสตร์การสอนภาษาไทย นำนวัตกรรมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลทางด้านวิจัยการเรียนการสอนภาษาไทย บูรณาการศาสตร์การสอนคู่กับเนื้อหาสาระด้านการเรียนการสอนภาษาไทยอย่างลุ่มลึก ทั้งภาษาศาสตร์ การใช้ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม และคติชนวิทยา ยึดมั่นคุณธรรมจริยธรรมอย่างเคร่งครัด เป็นแบบอย่างครูที่ดีในวงวิชาชีพ

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา 

               2.2.1 คุณสมบัติทั่วไป

                    มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับในบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563 และต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า

               2.2.2 คุณสมบัติเฉพาะ

               แผน ก แบบ ก 2

                    กลุ่มที่ 1 สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาทางการศึกษา

                    (ไม่ประสงค์ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู )

                    1. สำเร็จการศึกษาปริญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต/ครุศาสตรบัณฑิต/การศึกษาบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทย การสอนภาษาไทย หรือวิชาที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทย

                    2. จะต้องมีคะแนนค่าระดับเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิต หรือคะแนน/ค่าระดับเฉลี่ยเฉพาะภาษาไทยตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือมีประสบการณ์การสอนภาษาไทยหลังจากสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ไม่น้อยกว่า 1 ปี

          3. มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง เกณฑ์ความรู้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้สมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาโท

                    กลุ่มที่ 2 สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาที่ไม่ใช่ทางการศึกษา (ประสงค์ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู )

                    1. สำเร็จการศึกษาปริญญาบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทยหรือสาขาที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทย

                    2. จะต้องมีคะแนนค่าระดับเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิต หรือคะแนน/ค่าระดับเฉลี่ยเฉพาะภาษาไทยตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือมีประสบการณ์การสอนภาษาไทยหลังจากสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ไม่น้อยกว่า 1 ปี

        3. มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง เกณฑ์ความรู้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้สมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาโท

               แผน ข (ไม่ประสงค์ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู )

                    1. สำเร็จการศึกษาปริญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต/ครุศาสตรบัณฑิต/การศึกษาบัณฑิตวิชาเอกภาษาไทย การสอนภาษาไทย หรือวิชาที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทย

                    2. จะต้องมีคะแนนค่าระดับเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิต หรือคะแนน/ค่าระดับเฉลี่ยเฉพาะภาษาไทยตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือมีประสบการณ์การสอนภาษาไทยหลังจากสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ไม่น้อยกว่า 1 ปี

          3. มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง เกณฑ์ความรู้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้สมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาโท

 

                    หมายเหตุ ในกรณีที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตสาขาอื่น ๆ  นอกเหนือจากข้างต้นต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจำหลักสูตร
 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25642565256625672568
ปริญญาโท แบบ ก1155555
205555
A:รวม510101010
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00555
ปริญญาโท แบบ ก2155555
205555
A:รวม510101010
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00555
ปริญญาโท แบบ ข199999
209999
A:รวม918181818
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00999

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   50000.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

3. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

          เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 ดังนี้

3.1  แผน ก  แบบ ก 2

-  ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตรโดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า พร้อมทั้งเสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้งและต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ หรือนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นําเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ดังกล่าว

          -  ผ่านเกณฑ์อื่นๆ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563

3.2  แผน ข

-  ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า และสอบผ่านการสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) ด้วยข้อเขียนและ/หรือปากเปล่าในสาขาวิชานั้นพร้อมทั้งเสนอรายงานการค้นคว้าอิสระและสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้ง โดยเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ และรายงานการค้นคว้าอิสระหรือส่วนหนึ่งของรายงานการค้นคว้าอิสระต้องได้รับการเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สืบค้นได้

-  ผ่านเกณฑ์อื่นๆ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
08/08/2023 14:16:4111.98 MB