25150061100082_2164_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวสถิติ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2565)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะสาธารณสุขศาสตร์
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   15/12/2564  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2565
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะสาธารณสุขศาสตร์  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2515  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2560  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวสถิติ  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Science Program in Biostatistics  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ก2
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตMaster of Scienceวท.ม.M.Sc.สาขาวิชาชีวสถิติ
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร จัดการศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๕๘ 
หลักสูตรปริญญาโท แผน ก แบบ ก ๒ 
(๑) หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
 (๒) หมวดวิชาบังคับ ๑๘   หน่วยกิต
 (๓) หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า     ๖   หน่วยกิต 
(๔) วิทยานิพนธ์ ๑๒      หน่วยกิต 
  รวมไม่น้อยกว่า ๓๖    หน่วยกิต


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ก236

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25150061100082_2164_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวสถิติ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2565)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะสาธารณสุขศาสตร์
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2565  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
31/01/2022 15:14:48229.33 KB
CouncilApprove2625.pdf
13/02/2022 16:40:01229.33 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาธิป ศีลบุตรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ชูเกียรติ วิวัฒน์วงศ์เกษมวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐกมล ชาญสาธิตพรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Sc.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาธิป ศีลบุตรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ชูเกียรติ วิวัฒน์วงศ์เกษมวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐกมล ชาญสาธิตพรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Sc.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์ประสงค์ กิติดำรงสุขวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ปรารถนา สถิตย์วิภาวีวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิจิตรพงศ์ สุนทรพิพิธวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วันวิสาข์ ศรีสุเมธชัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์หทัยกาญจน์ ชูตระกูลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี

วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน  

๑. ภาคปกติ : จัดการเรียนการสอนในวัน-เวลาราชการ

๒. ภาคพิเศษ : จัดการเรียนการสอนในวันเสาร์-อาทิตย์

๓. ช่วงวัน-เวลา ในการจัดการเรียนการสอน :

     - ก่อนเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปลายเดือนกรกฎาคม-ต้นเดือนสิงหาคม (ประมาณ ๒ สัปดาห์) เป็นช่วงเวลาของการศึกษารายวิชาปรับพื้นฐาน

     - ภาคการศึกษาต้น เดือนสิงหาคม – เดือนธันวาคม

     - ภาคการศึกษาปลาย เดือนมกราคม – เดือนพฤษภาคม

     - ภาคฤดูร้อน เดือนพฤษภาคม – เดือนกรกฎาคม


หมวดวิชาปรับพื้นฐาน  ไม่นับหน่วยกิต
สศชส 519 คณิตศาสตร์สถิติขั้นแนะนำและการเขียนโปรแกรม  3(3-0-6)
สศอช 604 การสาธารณสุขทั่วไป  3(3-0-6)

 
       
     
   

25150061100082_2164_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวสถิติ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2565)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะสาธารณสุขศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1ปฏิบัติตนตามหลักของคุณธรรม จริยธรรม และซื่อสัตย์สุจริต
 1.2ปฏิบัติงานด้านชีวสถิติด้วยการวินิจฉัยอย่างมีเหตุมีผลโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของคุณธรรม และจริยธรรม
 1.3รักษาวินัย ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1มีความรู้ครอบคลุมเนื้อหาด้านชีวสถิติและทฤษฎีสถิติ
 2.2มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ข้อมูล การออกแบบฐานข้อมูล การบริหารจัดการข้อมูล
 2.3มีความรู้ด้านการวิจัย ทั้งการวิจัยเชิงชีวสถิติและทฤษฎีสถิติ การวิจัยด้านการแพทย์ สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1สามารถประยุกต์และเรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้ด้วยตนเอง ทั้งทางด้านทฤษฎีสถิติและวิธีการทางชีวสถิติ ที่ถูกต้องและเหมาะสม อย่างมีเหตุผลให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของข้อมูลจริง
 3.2ออกแบบฐานข้อมูล บริหารจัดการข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เขียนโปรแกรม เพื่อบูรณาการในบริบทใหม่ให้เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ทางด้านชีวสถิติ
 3.3สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์งานวิจัย ทั้งงานวิจัยเชิงทฤษฎีสถิติ และงานวิจัยเชิงประยุกต์ด้านการแพทย์ สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม และด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลอื่น
 4.2มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่องานที่ได้รับมอบหมาย
 4.3มีคุณลักษณะของภาวะผู้นำ และผู้ตามที่ดี ยอมรับบทบาทและความแตกต่างของผู้ร่วมงานในทีม
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1สื่อสาร นำเสนองาน อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน ได้เหมาะสมตรงประเด็นชัดเจน
 5.2วิเคราะห์ สังเคราะห์ตัวเลข และวิธีการทางชีวสถิติ เพื่อตอบวัตถุประสงค์และแก้ไขประเด็นปัญหาต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
 5.3ใช้เครื่องมือทางชีวสถิติและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย ในการสืบค้น เก็บรวบรวม และจัดการข้อมูล
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: เข้าใจและอธิบายหลักทฤษฎีสถิติและวิธีการทางชีวสถิติได้ถูกต้อง เหมาะสม ตามบริบทและความจำเพาะของข้อมูล
  1.2 :ปฏิบัติงานด้านชีวสถิติด้วยการวินิจฉัยอย่างมีเหตุมีผลโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของคุณธรรม และจริยธรรม(1)
  2.1 :มีความรู้ครอบคลุมเนื้อหาด้านชีวสถิติและทฤษฎีสถิติ(2)
  2.3 :มีความรู้ด้านการวิจัย ทั้งการวิจัยเชิงชีวสถิติและทฤษฎีสถิติ การวิจัยด้านการแพทย์ สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม (2)
  3.1 :สามารถประยุกต์และเรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้ด้วยตนเอง ทั้งทางด้านทฤษฎีสถิติและวิธีการทางชีวสถิติ ที่ถูกต้องและเหมาะสม อย่างมีเหตุผลให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของข้อมูลจริง(3)
  3.3 :สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์งานวิจัย ทั้งงานวิจัยเชิงทฤษฎีสถิติ และงานวิจัยเชิงประยุกต์ด้านการแพทย์ สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม และด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง(3)
  4.2 :มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่องานที่ได้รับมอบหมาย(4)
  4.3 :มีคุณลักษณะของภาวะผู้นำ และผู้ตามที่ดี ยอมรับบทบาทและความแตกต่างของผู้ร่วมงานในทีม (4)
  5.1 :สื่อสาร นำเสนองาน อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน ได้เหมาะสมตรงประเด็นชัดเจน(5)
  5.2 :วิเคราะห์ สังเคราะห์ตัวเลข และวิธีการทางชีวสถิติ เพื่อตอบวัตถุประสงค์และแก้ไขประเด็นปัญหาต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม(5)
  5.3 :ใช้เครื่องมือทางชีวสถิติและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย ในการสืบค้น เก็บรวบรวม และจัดการข้อมูล (5)
[Collapse]PLO: แสดงภาวะผู้นำและผู้ตามที่ดีทางด้านชีวสถิติ มีมนุษยสัมพันธ์ มีความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
  1.3 :รักษาวินัย ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ(1)
  4.1 :มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลอื่น(4)
  4.2 :มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่องานที่ได้รับมอบหมาย(4)
  4.3 :มีคุณลักษณะของภาวะผู้นำ และผู้ตามที่ดี ยอมรับบทบาทและความแตกต่างของผู้ร่วมงานในทีม (4)
[Collapse]PLO: แสดงออกถึงการมีคุณธรรม จริยธรรม ภายใต้กรอบจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ
  1.1 :ปฏิบัติตนตามหลักของคุณธรรม จริยธรรม และซื่อสัตย์สุจริต(1)
  1.2 :ปฏิบัติงานด้านชีวสถิติด้วยการวินิจฉัยอย่างมีเหตุมีผลโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของคุณธรรม และจริยธรรม(1)
  1.3 :รักษาวินัย ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ(1)
[Collapse]PLO: พัฒนาโครงการวิจัยและดำเนินงานวิจัยได้อย่างถูกต้อง ตรงตามระเบียบวิธีวิจัย ทั้งทางด้านทฤษฎีสถิติและการประยุกต์วิธีการทางชีวสถิติในงานด้านการแพทย์และสาธารณสุข
  1.2 :ปฏิบัติงานด้านชีวสถิติด้วยการวินิจฉัยอย่างมีเหตุมีผลโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของคุณธรรม และจริยธรรม(1)
  1.3 :รักษาวินัย ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ(1)
  2.1 :มีความรู้ครอบคลุมเนื้อหาด้านชีวสถิติและทฤษฎีสถิติ(2)
  2.3 :มีความรู้ด้านการวิจัย ทั้งการวิจัยเชิงชีวสถิติและทฤษฎีสถิติ การวิจัยด้านการแพทย์ สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม (2)
  3.1 :สามารถประยุกต์และเรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้ด้วยตนเอง ทั้งทางด้านทฤษฎีสถิติและวิธีการทางชีวสถิติ ที่ถูกต้องและเหมาะสม อย่างมีเหตุผลให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของข้อมูลจริง(3)
  3.3 :สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์งานวิจัย ทั้งงานวิจัยเชิงทฤษฎีสถิติ และงานวิจัยเชิงประยุกต์ด้านการแพทย์ สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม และด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง(3)
  4.2 :มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่องานที่ได้รับมอบหมาย(4)
  5.1 :สื่อสาร นำเสนองาน อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน ได้เหมาะสมตรงประเด็นชัดเจน(5)
[Collapse]PLO: วิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์และสาธารณสุขได้ครบทุกระดับการวัดของตัวแปร และผสานการวิเคราะห์ข้อมูลจากข้อมูลต่างระดับหลายระดับ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รวมถึงข้อมูลขนาดใหญ่
  1.2 :ปฏิบัติงานด้านชีวสถิติด้วยการวินิจฉัยอย่างมีเหตุมีผลโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของคุณธรรม และจริยธรรม(1)
  2.1 :มีความรู้ครอบคลุมเนื้อหาด้านชีวสถิติและทฤษฎีสถิติ(2)
  2.3 :มีความรู้ด้านการวิจัย ทั้งการวิจัยเชิงชีวสถิติและทฤษฎีสถิติ การวิจัยด้านการแพทย์ สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม (2)
  3.1 :สามารถประยุกต์และเรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้ด้วยตนเอง ทั้งทางด้านทฤษฎีสถิติและวิธีการทางชีวสถิติ ที่ถูกต้องและเหมาะสม อย่างมีเหตุผลให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของข้อมูลจริง(3)
  3.3 :สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์งานวิจัย ทั้งงานวิจัยเชิงทฤษฎีสถิติ และงานวิจัยเชิงประยุกต์ด้านการแพทย์ สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม และด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง(3)
  4.2 :มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่องานที่ได้รับมอบหมาย(4)
  4.3 :มีคุณลักษณะของภาวะผู้นำ และผู้ตามที่ดี ยอมรับบทบาทและความแตกต่างของผู้ร่วมงานในทีม (4)
  5.1 :สื่อสาร นำเสนองาน อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน ได้เหมาะสมตรงประเด็นชัดเจน(5)
  5.2 :วิเคราะห์ สังเคราะห์ตัวเลข และวิธีการทางชีวสถิติ เพื่อตอบวัตถุประสงค์และแก้ไขประเด็นปัญหาต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม(5)
  5.3 :ใช้เครื่องมือทางชีวสถิติและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย ในการสืบค้น เก็บรวบรวม และจัดการข้อมูล (5)
[Collapse]PLO: สื่อสารงานด้านชีวสถิติได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน เข้าใจง่าย ตรงประเด็น สามารถใช้เครื่องมือทางชีวสถิติและเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ทันสมัย
  2.1 :มีความรู้ครอบคลุมเนื้อหาด้านชีวสถิติและทฤษฎีสถิติ(2)
  2.2 :มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ข้อมูล การออกแบบฐานข้อมูล การบริหารจัดการข้อมูล(2)
  2.3 :มีความรู้ด้านการวิจัย ทั้งการวิจัยเชิงชีวสถิติและทฤษฎีสถิติ การวิจัยด้านการแพทย์ สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม (2)
  3.1 :สามารถประยุกต์และเรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้ด้วยตนเอง ทั้งทางด้านทฤษฎีสถิติและวิธีการทางชีวสถิติ ที่ถูกต้องและเหมาะสม อย่างมีเหตุผลให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของข้อมูลจริง(3)
  3.2 :ออกแบบฐานข้อมูล บริหารจัดการข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เขียนโปรแกรม เพื่อบูรณาการในบริบทใหม่ให้เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ทางด้านชีวสถิติ(3)
  3.3 :สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์งานวิจัย ทั้งงานวิจัยเชิงทฤษฎีสถิติ และงานวิจัยเชิงประยุกต์ด้านการแพทย์ สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม และด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง(3)
  4.1 :มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลอื่น(4)
  4.2 :มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่องานที่ได้รับมอบหมาย(4)
  4.3 :มีคุณลักษณะของภาวะผู้นำ และผู้ตามที่ดี ยอมรับบทบาทและความแตกต่างของผู้ร่วมงานในทีม (4)
  5.1 :สื่อสาร นำเสนองาน อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน ได้เหมาะสมตรงประเด็นชัดเจน(5)
  5.2 :วิเคราะห์ สังเคราะห์ตัวเลข และวิธีการทางชีวสถิติ เพื่อตอบวัตถุประสงค์และแก้ไขประเด็นปัญหาต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม(5)
  5.3 :ใช้เครื่องมือทางชีวสถิติและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย ในการสืบค้น เก็บรวบรวม และจัดการข้อมูล (5)
[Collapse]PLO: ออกแบบฐานข้อมูลและบริหารจัดการข้อมูล ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  1.3 :รักษาวินัย ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ(1)
  2.2 :มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ข้อมูล การออกแบบฐานข้อมูล การบริหารจัดการข้อมูล(2)
  3.2 :ออกแบบฐานข้อมูล บริหารจัดการข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เขียนโปรแกรม เพื่อบูรณาการในบริบทใหม่ให้เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ทางด้านชีวสถิติ(3)
  4.2 :มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่องานที่ได้รับมอบหมาย(4)
  5.3 :ใช้เครื่องมือทางชีวสถิติและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย ในการสืบค้น เก็บรวบรวม และจัดการข้อมูล (5)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5
1.11.21.32.12.22.33.13.23.34.14.24.35.15.25.3
เข้าใจและอธิบายหลักทฤษฎีสถิติและวิธีการทางชีวสถิติได้ถูกต้อง เหมาะสม ตามบริบทและความจำเพาะของข้อมูล
แสดงภาวะผู้นำและผู้ตามที่ดีทางด้านชีวสถิติ มีมนุษยสัมพันธ์ มีความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
แสดงออกถึงการมีคุณธรรม จริยธรรม ภายใต้กรอบจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ
พัฒนาโครงการวิจัยและดำเนินงานวิจัยได้อย่างถูกต้อง ตรงตามระเบียบวิธีวิจัย ทั้งทางด้านทฤษฎีสถิติและการประยุกต์วิธีการทางชีวสถิติในงานด้านการแพทย์และสาธารณสุข
วิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์และสาธารณสุขได้ครบทุกระดับการวัดของตัวแปร และผสานการวิเคราะห์ข้อมูลจากข้อมูลต่างระดับหลายระดับ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รวมถึงข้อมูลขนาดใหญ่
สื่อสารงานด้านชีวสถิติได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน เข้าใจง่าย ตรงประเด็น สามารถใช้เครื่องมือทางชีวสถิติและเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ทันสมัย
ออกแบบฐานข้อมูลและบริหารจัดการข้อมูล ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1หลักทฤษฎีและวิธีการชีวสถิติ การออกแบบฐานข้อมูลและการจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลฐานราก การประยุกต์ชีวสถิติทางด้านการแพทย์ สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม และวิทยาการระบาด การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยชีวสถิติขั้นสูงที่ซ้ำซ้อน ข้อมูลขนาดใหญ่ ข้อมูลต่างระดับหลายระดับ ข้อมูลวัดซ้ำ/ติดตามระยะยาว หลักการและวิธีดำเนินงานวิจัยทั้งด้านทฤษฎีสถิติ ด้านการสำรวจ ด้านการวิจัยคลินิก และด้านอื่นๆ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
2ดำเนินงานวิจัยด้วยตนเองอย่างครบวงจร สัมมนาชีวสถิติสำหรับงานวิจัยที่น่าสนใจ และอาจเรียนรู้เพิ่มเติมด้านวิทยาศาสตร์ข้อมูล การเรียนรู้ด้วยเครื่องจักร ปัญญาประดิษฐ์ การวิเคราะห์เฉพาะทาง เช่น เชิงพื้นที่และเวลา แบบเบย์ เชิงอภิมาน แบบอนุกรมเวลา เชิงคณิตศาสตร์ของการติดเชื้อ เป็นต้น

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

๑. สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทุกสาขา และได้เคยศึกษาวิชาคณิตศาสตร์หรือสถิติรวมกันไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ให้การรับรอง 

๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐

๓. มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล กรณีผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

๔. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากข้อ ๒.๒.๒ – ข้อ ๒.๒.๓ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาได้ ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25652566256725682569
 166666
206666
A:รวม612121212
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ06666
ปริญญาโท แบบ ก2166666
206666
A:รวม612121212
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ06666

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   33606.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
49925.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร  แผน ก แบบ ก๒

๑. ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

๒. ศึกษารายวิชาต่างๆ ครบถ้วนตามโครงสร้างของหลักสูตรคือ ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต และต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐

๓. ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยมหิดล

๔. ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

๕. ต้องเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

๖. ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่องหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ หรือนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) และตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
31/01/2022 15:39:051.73 MB