ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ      
  จำนวนปริญญา    
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน      
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ    
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน  
   หลักสูตรสังกัดคณะ    
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.    
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.    
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย :  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ :  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน :  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ก1
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตMaster of Engineeringวศ.ม.M.Eng.วิศวกรรมคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมทางดิจิทัล
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก      
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ก136

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ :  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา :  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น :
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_3
 
Name 
Date modified 
Size 
No data to display
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา :  

หลักสูตร

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่  ปี  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
16/1/2566 13:50:02112.66 KB
CouncilApprove2630.pdf
28/8/2567 15:13:11221.27 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์กีระชาติ สุขสุทธิ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: วศ.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์เกตุกาญจน์ ไชยขันธุ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: วศ.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์รติพร จันทร์กลั่นวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: วศ.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์วุฒิพงษ์ พิชิตวงศ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธรรมกร ครองไตรภพวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: วศ.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิทยา ศรีกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: วศ.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร    
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน  
ddd
 
       
     
   

T20222098111608:หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมทางดิจิทัล หลักสูตรใหม่(พ.ศ. 2566)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1สามารถจัดการเกี่ยวกับปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมที่ซับซ้อนในบริบททางวิชาการ หรือวิชาชีพ
 2สามารถใช้ดุลยพินิจอย่างผู้รู้ ด้วยความยุติธรรม ด้วยหลักฐาน ด้วยหลักการที่มีเหตุผล จัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นได้
 3มีภาวะความเป็นผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรมในที่ทำงานและชุมชน และสนับสนุนการใช้ดุลพินิจทางด้านคุณธรรม จริยธรรมในการจัดการกับความขัดแย้ง และปัญหาที่มีผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
 4แสดงออกหรือสื่อสารข้อสรุปข้อปัญหา โดยคำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่นที่ได้รับผลกระทบ
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1มีความรู้ และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในระดับที่สามารถประยุกต์ใช้ความรู้กับงานวิจัย และสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
 2มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการวิจัย และพัฒนาข้อสรุปจากผลการวิจัย ซึ่งเป็นที่ยอมรับในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอ ร์และนวัตกรรมทางดิจิทัล
 3สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมไปถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือวิจัยที่เหมาะสม
 4มีความรู้เป็นปัจจุบันของสาขา และสามารถนำความรู้นั้นมาใช้ในการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นองค์รวม
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1สามารถใช้ความเข้าใจในทฤษฎี และเทคนิคการแสวงหาความรู้ในการวิเคราะห์ประเด็นปัญหาสำคัญได้อย่างสร้างสรรค์
 2สามารถสืบค้นข้อมูล และแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลง ทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
 3สามารถคิด วิเคราะห์ และพัฒนาแนวทางแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมทางดิจิทัลได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 4สามารถสังเคราะห์ผลการวิจัย และทฤษฎีเพื่อใช้ในการพัฒนานวัตกรรม หรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
 5สามารถออกแบบ และดำเนินการโครงการวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ ๆ
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1สามารถแสดงความเห็นทางวิชาการ และวิชาชีพได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และชัดเจน
 2รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงาน สามารถปรับตัว และทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำ และผู้ตาม วางตัวได้เหมาะสมกับความรับผิดชอบ
 3สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ ให้ความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ
 4สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายด้วยภาษาไทย และภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ใน สาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
 5มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อม
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: PLO 1 วิเคราะห์ ออกแบบ และประยุกต์ใช้ความรู้ เพื่อพัฒนานวัตกรรม รู้ทันเทคโนโลยี
  1 :มีความรู้ และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในระดับที่สามารถประยุกต์ใช้ความรู้กับงานวิจัย และสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี(2)
  2 :มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการวิจัย และพัฒนาข้อสรุปจากผลการวิจัย ซึ่งเป็นที่ยอมรับในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอ ร์และนวัตกรรมทางดิจิทัล(2)
  3 :สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมไปถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือวิจัยที่เหมาะสม(2)
  1 :สามารถใช้ความเข้าใจในทฤษฎี และเทคนิคการแสวงหาความรู้ในการวิเคราะห์ประเด็นปัญหาสำคัญได้อย่างสร้างสรรค์(3)
  2 :สามารถสืบค้นข้อมูล และแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลง ทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ(3)
  1 :สามารถจัดการเกี่ยวกับปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมที่ซับซ้อนในบริบททางวิชาการ หรือวิชาชีพ(1)
  2 :สามารถใช้ดุลยพินิจอย่างผู้รู้ ด้วยความยุติธรรม ด้วยหลักฐาน ด้วยหลักการที่มีเหตุผล จัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นได้(1)
  4 :แสดงออกหรือสื่อสารข้อสรุปข้อปัญหา โดยคำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่นที่ได้รับผลกระทบ(1)
  1 :สามารถแสดงความเห็นทางวิชาการ และวิชาชีพได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และชัดเจน(4)
[Collapse]PLO: PLO 2 วางแผน และดำเนินการวิจัย โดยใช้ความรู้ทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมทางดิจิทัล
  1 :มีความรู้ และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในระดับที่สามารถประยุกต์ใช้ความรู้กับงานวิจัย และสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี(2)
  2 :มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการวิจัย และพัฒนาข้อสรุปจากผลการวิจัย ซึ่งเป็นที่ยอมรับในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอ ร์และนวัตกรรมทางดิจิทัล(2)
  3 :สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมไปถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือวิจัยที่เหมาะสม(2)
  4 :มีความรู้เป็นปัจจุบันของสาขา และสามารถนำความรู้นั้นมาใช้ในการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นองค์รวม (2)
  1 :สามารถใช้ความเข้าใจในทฤษฎี และเทคนิคการแสวงหาความรู้ในการวิเคราะห์ประเด็นปัญหาสำคัญได้อย่างสร้างสรรค์(3)
  2 :สามารถสืบค้นข้อมูล และแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลง ทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ(3)
  1 :สามารถจัดการเกี่ยวกับปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมที่ซับซ้อนในบริบททางวิชาการ หรือวิชาชีพ(1)
  2 :สามารถใช้ดุลยพินิจอย่างผู้รู้ ด้วยความยุติธรรม ด้วยหลักฐาน ด้วยหลักการที่มีเหตุผล จัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นได้(1)
  3 :มีภาวะความเป็นผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรมในที่ทำงานและชุมชน และสนับสนุนการใช้ดุลพินิจทางด้านคุณธรรม จริยธรรมในการจัดการกับความขัดแย้ง และปัญหาที่มีผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น(1)
  4 :แสดงออกหรือสื่อสารข้อสรุปข้อปัญหา โดยคำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่นที่ได้รับผลกระทบ(1)
  1 :สามารถแสดงความเห็นทางวิชาการ และวิชาชีพได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และชัดเจน(4)
  5 :มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อม(4)
[Collapse]PLO: PLO 3 สื่อสาร นำเสนอ และเผยแพร่ผลงานวิจัยด้วยการใช้ภาษา เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
  4 :สามารถสังเคราะห์ผลการวิจัย และทฤษฎีเพื่อใช้ในการพัฒนานวัตกรรม หรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์(3)
  1 :สามารถจัดการเกี่ยวกับปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมที่ซับซ้อนในบริบททางวิชาการ หรือวิชาชีพ(1)
  2 :สามารถใช้ดุลยพินิจอย่างผู้รู้ ด้วยความยุติธรรม ด้วยหลักฐาน ด้วยหลักการที่มีเหตุผล จัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นได้(1)
  4 :แสดงออกหรือสื่อสารข้อสรุปข้อปัญหา โดยคำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่นที่ได้รับผลกระทบ(1)
  1 :สามารถแสดงความเห็นทางวิชาการ และวิชาชีพได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และชัดเจน(4)
  4 :สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายด้วยภาษาไทย และภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ใน สาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม(4)
[Collapse]PLO: PLO 4 ภาวะผู้นำ จรรยาบรรณ ทักษะด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่น รู้เทคโนโลยีและสารสนเทศ
  1 :สามารถใช้ความเข้าใจในทฤษฎี และเทคนิคการแสวงหาความรู้ในการวิเคราะห์ประเด็นปัญหาสำคัญได้อย่างสร้างสรรค์(3)
  2 :สามารถสืบค้นข้อมูล และแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลง ทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ(3)
  3 :สามารถคิด วิเคราะห์ และพัฒนาแนวทางแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมทางดิจิทัลได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ(3)
  4 :แสดงออกหรือสื่อสารข้อสรุปข้อปัญหา โดยคำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่นที่ได้รับผลกระทบ(1)
  1 :สามารถแสดงความเห็นทางวิชาการ และวิชาชีพได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และชัดเจน(4)
  2 :รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงาน สามารถปรับตัว และทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำ และผู้ตาม วางตัวได้เหมาะสมกับความรับผิดชอบ(4)
  3 :สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ ให้ความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ(4)
  4 :สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายด้วยภาษาไทย และภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ใน สาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม(4)
  5 :มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อม(4)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4
12341234123412345
PLO 1 วิเคราะห์ ออกแบบ และประยุกต์ใช้ความรู้ เพื่อพัฒนานวัตกรรม รู้ทันเทคโนโลยี
PLO 2 วางแผน และดำเนินการวิจัย โดยใช้ความรู้ทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมทางดิจิทัล
PLO 3 สื่อสาร นำเสนอ และเผยแพร่ผลงานวิจัยด้วยการใช้ภาษา เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
PLO 4 ภาวะผู้นำ จรรยาบรรณ ทักษะด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่น รู้เทคโนโลยีและสารสนเทศ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1YLO ปี 1.1 แสดงให้เห็นถึงความตระหนักในความเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม YLO ปี 1.2 แสดงให้เห็นถึงการมีความรู้พื้นฐานในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และ นวัตกรรมทางดิจิทัลอยู่ในเกณฑ์ดีถึงดีมาก YLO ปี 1.3 แสดงให้เห็นถึงการสืบค้น และวางแผนดำเนินงานวิจัยด้วยการใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่ เหมาะสม YLO ปี 1.4 แสดงให้เห็นถึงลักษณะของการคิดเป็น ทำเป็น มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตด้วยการรู้จัก แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ กลั่นกรอง และนำเสนอความรู้ด้วย การใช้ภาษา เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม YLO ปี 1.5 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ออกแบบ และเลือกใช้เทคโนโลยีหรือเครื่องมือที่เหมาะสม เพื่อ ดำเนินการวิจัยให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ YLO ปี 1.6 สามารถสื่อสารทั้งในรูปแบบการพูดและการเขียนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมให้คนอื่นเข้าใจได้เป็นอย่างดี
2YLO ปี 2.1 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ วางแผน เลือกใช้เทคโนโลยี และแสดงให้เห็นถึงการสังเคราะห์ปัญหาทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมทางด้านดิจิทัล YLO ปี 2.2 แสดงให้เห็นถึงการสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล มีความเป็นผู้นำ ทำงานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่น YLO ปี 2.3 แสดงให้เห็นถึงความเป็นพลเมืองโลกด้วยค่านิยมอันเป็นสากล เปิดใจยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น สามารถทำงานในทีมที่ประกอบด้วยบุคลากรจากหลากหลายเชื้อชาติและวัฒนธรรม YLO ปี 2.4 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอ สื่อสารทั้งในรูปแบบการพูดและเขียน เผยแพร่งานวิจัย มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เปิดใจยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น บริหารจัดการการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

1. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาตามแผน 1A

                              1) เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และได้รับระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00 หรือมีประสบการณ์ทำงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง

                              2) มีคุณสมบัติอื่นตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2562 (ภาคผนวก ก)

2. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาตามแผน 1B

                              1) เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และได้รับระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือมีประสบการณ์ทำงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง

                              2) มีคุณสมบัติอื่นตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2562 (ภาคผนวก ก)

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25662567256825692570
ปริญญาโท แบบ ก1177777
207777
A:รวม714141414
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ07777

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   309372.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

3.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2565 โดยต้องศึกษารายวิชาและมีจำนวนหน่วยกิตครบตามที่โครงสร้างหลักสูตรกำหนด และต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า

3.2 มีคุณสมบัติครบตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2562 ทั้งนี้ อาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับประกาศของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

3.3 บรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี/โท/เอก โดยต้องผ่านการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรตามที่กำหนดไว้ในหมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร ข้อ 1.4 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้ต่อการพัฒนาผู้เรียน ได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 (บัณฑิตศึกษา)  ซึ่งกำหนดการประเมินผลเป็นคะแนน (ร้อยละ) หรือระดับสมรรถนะ สามารถเทียบคะแนน ได้ดังนี้

 

 

คะแนน (ร้อยละ)

ระดับสมรรถนะ

ระดับคะแนนตัวอักษร

ระดับค่าคะแนนเฉลี่ย

กรณีประเมินเป็นระดับคะแนนไม่ได้

81 ขึ้นไป

Excellence – ดีเยี่ยม (Gold Badge)

A

4.00

S / ผ่าน

75 - 80

B+

3.50

70 - 74

Good – ดี

(Silver Badge)

B

3.00

65 - 69

C+

2.50

60 - 64

C

2.00

55 - 59

Poor - อ่อน

D+

1.50

U / ไม่ผ่าน

50 - 54

D

1.00

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
29/8/2567 14:05:404.92 MB