ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ      
  จำนวนปริญญา    
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน      
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ    
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน  
   หลักสูตรสังกัดคณะ    
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.    
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.    
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย :  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ :  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน :  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) : ปริญญาตรีปฏิบัติการ
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.เทคโนโลยีบัณฑิตBachelor of Technologyทล.บ.B.Tech.เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก      
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) : ปริญญาตรีปฏิบัติการ75

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ :  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา :  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น :
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_3
 
Name 
Date modified 
Size 
MOU1_3_5.pdf
9/6/2563 21:28:43758.57 KB
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา :  

หลักสูตร

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่  ปี  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
31/5/2563 11:46:45404.64 KB
CouncilApprove2669.pdf
31/5/2563 11:47:12546.26 KB
CouncilApprove2671.pdf
31/5/2563 11:48:132.66 MB
CouncilApprove2697.pdf
31/5/2563 11:47:40221.07 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์กันตพิชญ์ ใยเสถียรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์ปฐมพงศ์ พรนราดลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาตรี หลักสูตร: วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ชำนาญการพิเศษเศรษฐาพันธ์ สุกใสวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศษ.ด.) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์สรวิศ ทรงคุณวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์แสงเดือน ชูทองวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์กันตพิชญ์ ใยเสถียรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์ปฐมพงศ์ พรนราดลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาตรี หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์เศรษฐาพันธ์ สุกใสวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์สรวิศ ทรงคุณวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์แสงเดือน ชูทองวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร    
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน  
ddd
 
       
     
   

25582751102362_2082_IP:หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ(ต่อเนื่อง) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2563)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้2
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาลัยอาชีวศึกษาภูเก็ต
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.2มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
 1.3มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับ ความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 1.4สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีต่อบุคคล องค์กรสังคมและสิ่งแวดล้อม
 1.5มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพเทคโนโลยีในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
 1.1เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พื้นฐานการบริหารจัดการและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง และสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
 2.2มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางเทคโนโลยี
 2.3มีความรู้ในวิธีการและการใช้เครื่องมือด้านเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสมในการทำงาน
 2.4สามารถบูรณาการความรู้ด้านเทคโนโลยีกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
 2.5สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานจริงได้
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
 3.2สามารถรวมรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการทางด้านเทคโนโลยี
 3.3สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาทางด้านเทคโนโลยีได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 3.4มีจินตนาการและมีความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
 3.5สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้ทางด้านเทคโนโลยีเพิ่มเติมได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพทางด้านเทคโนโลยีสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
 4.2สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ
 4.3สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทางด้านเทคโนโลยีทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
 4.4รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่มสามารถปรับตัวและทำงานร่วมกันผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 4.5มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงานด้านเทคโนโลยีและการรักษาสภาพแวดล้อมพลังงาน
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็น อย่างดี
 5.2มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
 5.3สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
 5.4มีทักษะในการสื่อสาร การนำเสนอข้อมูลทั้ง ทางวาจาและลายลักษณ์อักษร และการสื่อความหมาย การเลือกใช้สื่อในการนำเสนอที่เหมาะสม
 5.5สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางเทคโนโลยี เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องได้
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
 1.2สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้เทคโนยีสารสนเทศต่อบุคคล องค์กรและสังคม
 1.3มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
 2.2สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางเทคโนโลยีสารสนเทศรวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
 2.3สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ทดสอบ ติดตั้ง และประเมินองค์ประกอบต่าง ๆ ของ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด
 2.4สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ใช้
 2.5มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ การเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้อง
 2.6สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
 3.2สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ปัญหาสถานการณ์ ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
 4.2สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะ ทั้งของตนเองและของกลุ่ม
 4.3มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหา โดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
 5.2สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งปากเปล่าและการเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอได้อย่างเหมาะสม
 5.3สามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 6.ทักษะวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
 6.1บริหาร จัดการ ดำเนินการ ควบคุมดูแลงาน ให้คำแนะนำ สอนงานในสถานประกอบการให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 6.2ควบคุมการปฏิบัติการทางเทคโนโลยีสารสนเทศและโปรแกรมคอมพิวเตอร์การติดตั้งและซ่อมบำรุงระบบคอมพิวเตอร์
 6.3วิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้งบำรุงรักษาและพัฒนาซอฟต์แวร์และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศ ระบบฐานข้อมูล
 6.4ทดสอบระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์
 6.5ควบคุมระบบความปลอดภัยระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1มีความสามารถวิเคราะห์และออกแบบ พัฒนา ติดตั้ง ปรับแต่งระบบ ตรวจสอบอุปกรณ์และแก้ไขปัญหาเบื้องต้น โปรแกรมประยุกต์เชิงโครงสร้างและโปรแกรมเชิงวัตถุ สร้าง เผยแพร่ สื่อสาร ติดตั้ง ใช้งานเครื่องมือและอุปกรณ์ทางอินเตอร์เน็ต ออกแบบ สร้างงาน นำเสนอผลงานด้านมัลติมีเดีย วิเคราะห์ปัญหาและหาจุดเสียของระบบเครือข่าย อุปกรณ์ต่างๆในระบบเครือข่าย ตรวจซ่อมและวัดค่าความสูญเสีย ใช้ซอฟต์แวร์ต่างๆ ตรวจสอบหาจุดเสียในระบบเครือข่าย ติดตั้งและจัดการระบบเครือข่ายแบบ Client/Server พัฒนา ติดตั้ง เรียกใช้งานโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ รวมทั้งสามารถใช้ระเบียบวิธีวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหาในการทำงานได้อย่างเป็นระบบ
2มีความสามารถ ออกแบบ วางแผน พัฒนาระบบงานสารสนเทศ พัฒนาซอฟต์แวร์ พัฒนาแอพพลิเคชันบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ทั่วไป แอพพลิเคชันที่มีการใช้ฐานข้อมูล และ ระบบอินเตอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง(IOT) ติดตั้งและใช้งานโปรแกรมระบบปฏิบัติการโปรแกรมสำเร็จรูป ปรับแต่งระบบเพื่อการเชื่อมต่อผ่านเครือข่าย และใช้งานผ่านเครือข่าย ตรวจสอบและแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์ประเภทต่าง ๆ ติดตั้ง Router, Remote Access,Virtual Private Network และเทคโนโลยี ATM. Frame Relay ปฏิบัติโครงการเพื่อบริการทางวิชาการ เขียนวิจัยโครงการพัฒนาทักษาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ และสัมมนาโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้อย่างถูกต้องอย่างเป็นระบบ

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

1. สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. เป็นผู้ที่มีคุณสมบัติการเข้าศึกษาต่อหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามประกาศสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 2 กำหนด    
 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25632564256525662567
ปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) : ปริญญาตรีปฏิบัติการ12020202020
2020202020
A:รวม2040404040
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ020202020

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : อื่น ๆ (แบบชั้นเรียนและเรียนรู้ในสถานประกอบการ)  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   38000.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 
เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษา และการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการของสถาบันการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2556 หมวดที่ 4 ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ดังต่อไปนี้
  1. ศึกษารายวิชาและจำนวนหน่วยกิตครบตามหลักสูตร
  2. มีหน่วยกิตสะสมไม่ต่ำกว่าที่หลักสูตรกำหนดไว้
  3. ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพตามหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต พ.ศ. 2556 
  4. ผ่านการประเมินศักยภาพด้านภาษาต่างประเทศ ตามที่สถาบันกำหนด
  5. เข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาปริญญาครบถ้วน ตามระเบียบสถาบันอาชีวศึกษาภาคใต้ 2 ว่าด้วยกิจกรรมและการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาปริญญาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558
  6. มีคุณสมบัติเหมาะกับการเป็นบัณฑิต และไม่มีหนี้สินผูกพันต่อสถาบัน
  7. ต้องยื่นคำร้องขอสำเร็จการศึกษาในภาคเรียนที่นักศึกษาคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาภายใน 30 วันนับแต่วันเปิดภาคเรียน ตามประกาศของสถาบัน
  8. นักศึกษาที่ไม่ได้ดำเนินตามข้อ 7 จะไม่ได้รับการพิจารณาเสนอชื่อเพื่อรับปริญญาในแต่ละภาคเรียนนั้นและต้องชำระรักษาสภาพการเป็นนักศึกษาจนถึงภาคเรียนที่นักศึกษายื่นคำร้องขอสำเร็จ
 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
26/11/2563 15:01:397.32 MB