ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ      
  จำนวนปริญญา    
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน      
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ    
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน  
   หลักสูตรสังกัดคณะ    
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.    
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.    
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย :  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ :  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน :  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ก2
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตMaster of Scienceวท.ม.M.Sc.ชีวสถิติ
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก      
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ก236

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ :  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา :  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น :
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_3
 
Name 
Date modified 
Size 
No data to display
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา :  

หลักสูตร

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่  ปี  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
6/9/2566 8:41:27220.02 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาธิป ศีลบุตรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ชูเกียรติ วิวัฒน์วงศ์เกษมวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐกมล ชาญสาธิตพรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาธิป ศีลบุตรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ชูเกียรติ วิวัฒน์วงศ์เกษมวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐกมล ชาญสาธิตพรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์ประสงค์ กิติดำรงสุขวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ปรารถนา สถิตย์วิภาวีวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิจิตรพงศ์ สุนทรพิพิธวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วันวิสาข์ ศรีสุเมธชัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์หทัยกาญจน์ ชูตระกูลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร    
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน  
ddd
 
       
     
   

25150061100082_2107_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวสถิติ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะสาธารณสุขศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1ปฏิบัติตนตามหลักของคุณธรรม จริยธรรม และซื่อสัตย์สุจริต
 1.2สามารถจัดการกับปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวสถิติด้วยการวินิจฉัยอย่างมีเหตุมีผลโดยตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของคุณธรรม และจริยธรรม
 1.3รักษาวินัย ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1มีความรู้ครอบคลุมเนื้อหาสาระด้านชีวสถิติ
 2.2สามารถศึกษา ค้นคว้าเพื่อบูรณาการความรู้ รวมทั้งหาแหล่งข้อมูลในสาขาวิชาชีวสถิติเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ต่อไป
 2.3มีความรู้ในกระบวนการทำวิจัยเพียงพอที่จะสามารถสร้างงานวิจัยและงานวิชาการ
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1ใช้ข้อมูลและเหตุผลในการตัดสินใจเลือกใช้วิธีการทางชีวสถิติ ที่ถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
 3.2 วิเคราะห์ และใช้ผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการมาบูรณาการในบริบทใหม่เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ ทางด้านชีวสถิติ
 3.3วางแผนและดำเนินโครงการวิจัยค้นคว้าทางด้านวิชาการด้วยตนเองอย่างเป็นอิสระ
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลอื่น
 4.2มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และงานที่ได้รับมอบหมาย
 4.3 มีคุณลักษณะของภาวะผู้นำและภาวะผู้ตามที่ดี
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1 คัดเลือกวิธีการทางชีวสถิติตามลักษณะของข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการศึกษาในประเด็นปัญหาต่างๆ
 5.2 สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพด้วยภาษา และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
 5.3ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการเผยแพร่ความรู้สู่สาธารณะ
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: เข้าใจทฤษฎีทางสถิติ วิธีการทางชีวสถิติ (specific)
  2.1 :มีความรู้ครอบคลุมเนื้อหาสาระด้านชีวสถิติ(2)
  2.2 :สามารถศึกษา ค้นคว้าเพื่อบูรณาการความรู้ รวมทั้งหาแหล่งข้อมูลในสาขาวิชาชีวสถิติเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ต่อไป(2)
[Collapse]PLO: จัดการข้อมูลได้อย่างถูกต้องโดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย (specific)
  2.2 :สามารถศึกษา ค้นคว้าเพื่อบูรณาการความรู้ รวมทั้งหาแหล่งข้อมูลในสาขาวิชาชีวสถิติเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ต่อไป(2)
  5.3 :ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการเผยแพร่ความรู้สู่สาธารณะ(5)
[Collapse]PLO: ทำงานร่วมกับผู้อื่นโดยแสดงภาวะผู้นำทางด้านชีวสถิติ โดยบูรณาการความรู้ด้านชีวสถิติ (generic)
  4.1 :มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลอื่น (4)
  4.2 :มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และงานที่ได้รับมอบหมาย (4)
  4.3 : มีคุณลักษณะของภาวะผู้นำและภาวะผู้ตามที่ดี(4)
  5.2 : สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพด้วยภาษา และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม(5)
  5.3 :ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการเผยแพร่ความรู้สู่สาธารณะ(5)
[Collapse]PLO: นำเสนอผลการวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้อง (generic)
  4.2 :มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และงานที่ได้รับมอบหมาย (4)
[Collapse]PLO: เลือกใช้หลักทฤษฎีทางสถิติและวิธีการทางชีวสถิติได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ตามบริบทของข้อมูล (specific)
  2.1 :มีความรู้ครอบคลุมเนื้อหาสาระด้านชีวสถิติ(2)
  2.2 :สามารถศึกษา ค้นคว้าเพื่อบูรณาการความรู้ รวมทั้งหาแหล่งข้อมูลในสาขาวิชาชีวสถิติเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ต่อไป(2)
  3.1 :ใช้ข้อมูลและเหตุผลในการตัดสินใจเลือกใช้วิธีการทางชีวสถิติ ที่ถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์(3)
  3.2 : วิเคราะห์ และใช้ผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการมาบูรณาการในบริบทใหม่เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ ทางด้านชีวสถิติ(3)
  5.1 : คัดเลือกวิธีการทางชีวสถิติตามลักษณะของข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการศึกษาในประเด็นปัญหาต่างๆ(5)
[Collapse]PLO: วิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์และสาธารณสุขโดยใช้หลักทฤษฎีทางสถิติและวิธีการทางชีวสถิติได้อย่างถูกต้อง (specific)
  2.1 :มีความรู้ครอบคลุมเนื้อหาสาระด้านชีวสถิติ(2)
  2.2 :สามารถศึกษา ค้นคว้าเพื่อบูรณาการความรู้ รวมทั้งหาแหล่งข้อมูลในสาขาวิชาชีวสถิติเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ต่อไป(2)
  3.1 :ใช้ข้อมูลและเหตุผลในการตัดสินใจเลือกใช้วิธีการทางชีวสถิติ ที่ถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์(3)
  3.2 : วิเคราะห์ และใช้ผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการมาบูรณาการในบริบทใหม่เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ ทางด้านชีวสถิติ(3)
  3.3 :วางแผนและดำเนินโครงการวิจัยค้นคว้าทางด้านวิชาการด้วยตนเองอย่างเป็นอิสระ(3)
  5.1 : คัดเลือกวิธีการทางชีวสถิติตามลักษณะของข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการศึกษาในประเด็นปัญหาต่างๆ(5)
  5.3 :ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการเผยแพร่ความรู้สู่สาธารณะ(5)
[Collapse]PLO: สร้างงานวิจัยด้านสถิติทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างถูกต้องตามระเบียบวิธีวิจัย (specific)
  1.2 :สามารถจัดการกับปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวสถิติด้วยการวินิจฉัยอย่างมีเหตุมีผลโดยตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของคุณธรรม และจริยธรรม(1)
  2.2 :สามารถศึกษา ค้นคว้าเพื่อบูรณาการความรู้ รวมทั้งหาแหล่งข้อมูลในสาขาวิชาชีวสถิติเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ต่อไป(2)
  2.3 :มีความรู้ในกระบวนการทำวิจัยเพียงพอที่จะสามารถสร้างงานวิจัยและงานวิชาการ(2)
  3.2 : วิเคราะห์ และใช้ผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการมาบูรณาการในบริบทใหม่เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ ทางด้านชีวสถิติ(3)
  3.3 :วางแผนและดำเนินโครงการวิจัยค้นคว้าทางด้านวิชาการด้วยตนเองอย่างเป็นอิสระ(3)
[Collapse]PLO: แสดงออกซึ่งพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม (generic)
  1.1 :ปฏิบัติตนตามหลักของคุณธรรม จริยธรรม และซื่อสัตย์สุจริต(1)
  1.2 :สามารถจัดการกับปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวสถิติด้วยการวินิจฉัยอย่างมีเหตุมีผลโดยตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของคุณธรรม และจริยธรรม(1)
  1.3 :รักษาวินัย ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ(1)
[Collapse]PLO: ให้คำแนะนำวิธีการทางชีวสถิติที่ถูกต้อง (generic)
  3.1 :ใช้ข้อมูลและเหตุผลในการตัดสินใจเลือกใช้วิธีการทางชีวสถิติ ที่ถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์(3)
  4.1 :มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลอื่น (4)
  4.2 :มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และงานที่ได้รับมอบหมาย (4)
  4.3 : มีคุณลักษณะของภาวะผู้นำและภาวะผู้ตามที่ดี(4)
  5.2 : สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพด้วยภาษา และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม(5)
  5.3 :ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการเผยแพร่ความรู้สู่สาธารณะ(5)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5
1.11.21.32.12.22.33.13.23.34.14.24.35.15.25.3
เข้าใจทฤษฎีทางสถิติ วิธีการทางชีวสถิติ (specific)
จัดการข้อมูลได้อย่างถูกต้องโดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย (specific)
ทำงานร่วมกับผู้อื่นโดยแสดงภาวะผู้นำทางด้านชีวสถิติ โดยบูรณาการความรู้ด้านชีวสถิติ (generic)
นำเสนอผลการวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้อง (generic)
เลือกใช้หลักทฤษฎีทางสถิติและวิธีการทางชีวสถิติได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ตามบริบทของข้อมูล (specific)
วิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์และสาธารณสุขโดยใช้หลักทฤษฎีทางสถิติและวิธีการทางชีวสถิติได้อย่างถูกต้อง (specific)
สร้างงานวิจัยด้านสถิติทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างถูกต้องตามระเบียบวิธีวิจัย (specific)
แสดงออกซึ่งพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม (generic)
ให้คำแนะนำวิธีการทางชีวสถิติที่ถูกต้อง (generic)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1มีความรู้ด้านทฤษฎีด้านสถิติ วิธีการทางชีวสถิติในงานด้านสาธารณสุข บริหารจัดการข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย วิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์ และสาธารณสุขด้วยวิธีการทางชีวสถิติได้อย่างถูกต้อง นำเสนอผลการวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
2ประยุกต์ความรู้ด้านชีวสถิติในงานวิจัยด้านการแพทย์และสาธารณสุข สามารถเลือกใช้วิธีการทางชีวสถิติ พร้อมทั้งให้คำแนะนำวิธีการทางชีวสถิติที่ถูกต้องเหมาะสม ทำงานร่วมกับผู้อื่นโดยแสดงภาวะผู้นำด้านชีวสถิติ โดยการบูรณาการด้านชีวสถิติ มีมนุษยสัมพันธ์ สามารถสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

๑.   สำเร็จการศึกษา หรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาก่อนวันเปิดภาคการศึกษาของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต หรือปริญญาตรีสาขาอื่นๆ ที่ศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ และ/หรือสถิติรวมกัน  ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต จากสถาบันอุดมศึกษาในประเทศหรือต่างประเทศ ที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง

๒.  ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐

๓.   มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

๔.  ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวนี้ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25602561256225632564
ปริญญาโท แบบ ก211010101010
2010101010
A:รวม1020202020
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ010101010

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   26487.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
40063.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

๑.   ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

๒.   ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตรคือ ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๔
หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต  รวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิตและมีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓
.๐๐

๓.   ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยมหิดล

๔.   ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของ     บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

๕.   ต้องเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

๖.   ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ต้องได้รับตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุมวิชาการ (Proceedings) ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย

 

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
สมอ08.pdf
12/11/2566 15:24:392.7 MB
เอกสารการประชุม.pdf
6/9/2566 8:39:43220.02 KB