ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ      
  จำนวนปริญญา    
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน      
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ    
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน  
   หลักสูตรสังกัดคณะ    
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.    
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.    
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย :  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ :  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน :  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ก1
ปริญญาโท แบบ ก2
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1ไม่เป็นไปตามเกณฑ์แต่ได้รับความเห็นชอบจาก กกออักษรศาสตรมหาบัณฑิตMaster of Artsอ.ม.M.A.ภาษาบาลี-สันสกฤต และพุทธศาสน์ศึกษา
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก      
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ก136
ปริญญาโท แบบ ก236

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ :  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา :  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น :
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_3
 
Name 
Date modified 
Size 
No data to display
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา :  

หลักสูตร

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่  ปี  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
26/4/2562 14:02:094.69 MB
CouncilApprove2643.pdf
24/6/2562 10:07:34188.61 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชานป์วิชช์ ทัดแก้ววุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์สมพรนุช ตันศรีสุขวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชานป์วิชช์ ทัดแก้ววุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์สมพรนุช ตันศรีสุขวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร    
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน  
ddd
 
       
     
   

25150011100097_2130_IP:หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลี-สันสกฤต และพุทธศาสน์ศึกษา หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะอักษรศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.มีความรู้
 1.1รู้รอบ มีความรู้รอบด้านภาษาบาลี-สันสกฤต ภารตวิทยา และ/หรือพุทธศาสน์ศึกษา และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
 1.2รู้ลึก มีความรู้ด้านภาษาบาลี-สันสกฤต ภารตวิทยา และ/หรือพุทธศาสน์ศึกษาอย่างดี
[Collapse]หัวข้อ: 2.มีคุณธรรม
 2.1มีคุณธรรมและจริยธรรม ศรัทธาและยึดมั่นความดีงาม มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริต ตระหนักถึงคุณค่าความเป็นมนุษย์ในมิติต่างๆ รู้จักหน้าที่ของตนเองและรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 2.2มีจรรยาบรรณ ประพฤติปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของนักวิชาการและนักวิจัย
[Collapse]หัวข้อ: 3.คิดเป็น
 3.1สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ สามารถวิเคราะห์แบบองค์รวมและสมเหตุผล สังเคราะห์และประเมินคุณค่าอย่างมีวิจารณญาณ
 3.2สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถริเริ่ม พัฒนาองค์ความรู้ด้านภาษาบาลี-สันสกฤต หรือพุทธศาสน์ศึกษา
 3.3มีทักษะในการคิดแก้ปัญหา สามารถคิดแก้ปัญหาที่ซับซ้อนและรู้จักเลือกวิธีแก้ปัญหาที่เหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทำเป็น
 4.1มีทักษะทางวิชาชีพ ติดตามความก้าวหน้าของงานวิจัยด้านภาษาบาลี-สันสกฤต หรือพุทธศาสน์ศึกษา สามารถต่อยอดองค์ความรู้ และประยุกต์ความรู้ไปแก้ปัญหาได้
 4.2มีทักษะทางการสื่อสาร - ใช้ภาษาไทยได้ดีมากทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน สามารถนำเสนอผลงานทางวิชาการได้ - ใช้ภาษาอังกฤษได้ในระดับดีทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน - อ่านแปลภาษาบาลี สันสกฤต ปรากฤต จีน ทิเบต หรือภาษาต่างประเทศอื่นซึ่งใช้บันทึกคัมภีร์สำคัญทางพระพุทธศาสนาได้
 4.3มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมเพื่อสืบค้น วิเคราะห์ และติดตามความก้าวหน้าในศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และเพื่อนำเสนอผลงานวิชาการได้
 4.4มีทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ มีทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อการศึกษาวิจัย
 4.5มีทักษะการบริหารจัดการ สามารถวางแผนและดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีมนุษยสัมพันธ์ดี และรู้จักทำงานเป็นหมู่คณะ
[Collapse]หัวข้อ: 5.ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้
 5.1ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ
 5.2รู้จักวิธีการเรียนรู้ รู้จักเทคนิค วิธีและกระบวนการในการเรียนรู้ สามารถนำไปใช้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 6.มีภาวะผู้นำ
  เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมทางวิชาการ รับฟังความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น
[Collapse]หัวข้อ: 7.มีสุขภาวะ
  รู้จักดูแลสุขภาพกายและจิตของตนเอง มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม ปรับตัวได้ ทนสภาพกดดันได้
[Collapse]หัวข้อ: 8.มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ
  มีจิตสำนึกห่วงใยสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
[Collapse]หัวข้อ: 9.ดำรงความเป็นไทยในกระแสโลกาภิวัตน์
  สำนึกในคุณค่าของตน คุณค่าความเป็นไทยรวมทั้งตระหนักถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม และสามารถทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นที่มีวัฒนธรรมและความเชื่อที่แตกต่าง
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1เพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการด้วยการเรียนวิชาต่างๆในหลักสูตร ศึกษาหัวข้อวิทยานิพนธ์ และผ่านการสอบวิทยานิพนธ์
2ทำวิทยานิพนธ์และบทความวิชาการ และผ่านการสอบวิทยานิพนธ์

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 
1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต มีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00  หรือเทียบเท่า
2. ผู้ประสงค์จะเรียนสายภาษาบาลี-สันสกฤต ต้องมีพื้นฐานภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤตมาก่อน หากไม่มีพื้นฐานมาก่อนจะต้องลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ เห็นสมควร โดยไม่นับหน่วยกิต
3. ผู้ประสงค์จะเรียนสายวิชาพุทธศาสน์ศึกษา ควรจะมีพื้นฐานภาษาบาลี หรือ ภาษาสันสกฤต หรือ ภาษาใดภาษาหนึ่งที่ใช้ในวรรณคดีพุทธศาสนา หากไม่มีพื้นฐานมาก่อนจะต้องลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ เห็นสมควร โดยไม่นับหน่วยกิต
4. มีผลการทดสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
5. คุณสมบัติอื่นๆ ให้เป็นไปตามประกาศ ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศเป็นปีๆ ไป หรือ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมหาบัณฑิตของสาขาวิชาฯ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคณะอักษรศาสตร์พิจารณาแล้วเห็นสมควรให้มีสิทธิ์สมัครเข้าศึกษาได้
 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาโท แบบ ก1111111
201111
A:รวม12222
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ01111
ปริญญาโท แบบ ก2144444
204444
A:รวม48888
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ04444

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   168040.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

แบบ 1

- เสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย (การสอบต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้)

- ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

แบบ ก 2

- เรียนครบตามจำนวนหน่วยกิตที่กำหนดในหลักสูตร โดยต้องได้แต้มเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00 (จากระบบ 4 ระดับคะแนน)

- เสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย (การสอบต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้)

-  ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ หรือนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการ โดยบทความที่นำเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ดังกล่าว

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
28/4/2564 22:36:2515.63 MB