ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ      
  จำนวนปริญญา    
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน      
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ    
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน  
   หลักสูตรสังกัดคณะ    
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.    
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.    
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย :  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ :  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน :  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ก2
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตMaster of Scienceวท.ม.M.Sc.ชีวเคมี
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก      
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ก236

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ :  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา :  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น :
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_3
 
Name 
Date modified 
Size 
No data to display
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา :  

หลักสูตร

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่  ปี  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
25/6/2563 23:35:35570.48 KB
CouncilApprove2633.pdf
25/4/2562 8:21:133.03 MB
CouncilApprove2663.pdf
25/4/2562 8:33:313.03 MB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 รองศาสตราจารย์กิตติศักดิ์ หยกทองวัฒนาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์จิรันดร ยูวะนิยมวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดนยา ปโกฏิประภาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ตวงพร สุทธิพงษ์ชัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ฤทัยวรรณ โต๊ะทองวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์วราภรณ์ คำยอดวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วโรดม เจริญสวรรค์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ศาสตราจารย์ศราวุฒิ จิตรภักดีวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 รองศาสตราจารย์Laran Jensenวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์กรกมล เลิศสุวรรณวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์กัลยา ประไพนพวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์กิตติศักดิ์ หยกทองวัฒนาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จามร สมณะวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์จิรันดร ยูวะนิยมวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดนยา ปโกฏิประภาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ตวงพร สุทธิพงษ์ชัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์เทวัญ จันทร์วิไลศรีวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธเนศ กังสมัครศิลป์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์ปฐมพล วงศ์ตระกูลเกตุวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์พรพิมล รงค์นพรัตน์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์รัชนก ตินิกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ฤทัยวรรณ โต๊ะทองวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์วราภรณ์ คำยอดวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วโรดม เจริญสวรรค์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ศาสตราจารย์ศราวุฒิ จิตรภักดีวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์เสาวรส สวัสดิวัฒน์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 อาจารย์อรชุมา อิฐสถิตไพศาลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร    
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน  
ddd
 
       
     
   

25050061100081_2123_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมี (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิทยาศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1ปฏิบัติตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยและวิชาชีพ
 1.2ซื่อสัตย์ สุจริต (ไม่คัดลอกหรือนำงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง และอ้างอิงแหล่งที่มาของงาน
 1.3ตรงต่อเวลา ใช้เวลาอย่างมีประสิทธิภาพและบริหารจัดการเวลาได้อย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1มีความรู้พื้นฐานชีวเคมี เข้าใจหลักการและใช้เครื่องมือและ เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์ชีวเคมี
 2.2บูรณาการองค์ความรู้ชีวเคมี และเชื่อมโยงความรู้ระดับนานาชาติที่ทันสมัย
 2.3ค้นคว้าใฝ่รู้ตลอดเวลา เพิ่มพูนความรู้ คิดสังเคราะห์และประเมินองค์ความรู้ใหม่ได้
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1บูรณาการความรู้เพื่อคิดค้นวิธีการแก้ปัญหา วางแผน และออกแบบการทดลองวิจัยทางวิทยาศาสตร์ (ชีวเคมี) อย่างเป็นระบบ โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
 3.2ประยุกต์ความรู้และหลักการทางชีวเคมีในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ และสามารถเปรียบเทียบและสามารถเปรียบเทียบและเลือกวิธีที่ดีที่สุด
 3.3ทำการวิเคราะห์ผลอย่างเป็นระบบ เสนอวิธีการปรับปรุง หรืองานที่จะทำต่อไป เปรียบเทียบและเชื่อมโยงบูรณาการผลกับความรู้ในปัจจุบัน และสังเคราะห์เป็นองค์ความรู้ใหม่
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1รับผิดชอบในงานที่วางแผน และ/หรือ ได้รับมอบหมาย ทั้งส่วนตนและส่วนรวมโดยคำนึงถึงผู้อื่น
 4.2ทำงานร่วมกับผู้อื่น แบ่งหน้าที่ตามกิจกรรมกลุ่มได้อย่างเป็นระบบ
 4.3เลือกปฏิบัติและวางตน โดยมีภาวะผู้นำและผู้ร่วมงานอย่างถูกต้อง
 4.4รับฟังและแบ่งปันความรู้และประสบการณ์ เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองและผู้เกี่ยวข้อง
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1นำเสนอ ประมวลผลและประยุกต์ แสดงข้อมูลชีวเคมีโดยใช้ตัวเลข/สถิติ
 5.2อธิบาย สื่อสาร และเผยแพร่ความรู้ชีวเคมีได้อย่างเหมาะสม
 5.3เขียนบทความ บทคัดย่อ รายงานสรุปงานชีวเคมีระดับชาติหรือระดับนานาชาติ
 5.4ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าข้อมูล และการใช้งานขั้นสูง
 5.5ฟัง พูด เขียน อ่านวิเคราะห์ภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: ใช้ภาษาอังกฤษทั้งด้านการพูดและการเขียนบทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้องได้อย่างชัดเจน ถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่น
  1.2 :ซื่อสัตย์ สุจริต (ไม่คัดลอกหรือนำงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง และอ้างอิงแหล่งที่มาของงาน(1)
  2.3 :ค้นคว้าใฝ่รู้ตลอดเวลา เพิ่มพูนความรู้ คิดสังเคราะห์และประเมินองค์ความรู้ใหม่ได้(2)
  3.1 :บูรณาการความรู้เพื่อคิดค้นวิธีการแก้ปัญหา วางแผน และออกแบบการทดลองวิจัยทางวิทยาศาสตร์ (ชีวเคมี) อย่างเป็นระบบ โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ(3)
  3.2 :ประยุกต์ความรู้และหลักการทางชีวเคมีในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ และสามารถเปรียบเทียบและสามารถเปรียบเทียบและเลือกวิธีที่ดีที่สุด(3)
  3.3 :ทำการวิเคราะห์ผลอย่างเป็นระบบ เสนอวิธีการปรับปรุง หรืองานที่จะทำต่อไป เปรียบเทียบและเชื่อมโยงบูรณาการผลกับความรู้ในปัจจุบัน และสังเคราะห์เป็นองค์ความรู้ใหม่(3)
  4.4 :รับฟังและแบ่งปันความรู้และประสบการณ์ เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองและผู้เกี่ยวข้อง(4)
  5.1 :นำเสนอ ประมวลผลและประยุกต์ แสดงข้อมูลชีวเคมีโดยใช้ตัวเลข/สถิติ(5)
  5.2 :อธิบาย สื่อสาร และเผยแพร่ความรู้ชีวเคมีได้อย่างเหมาะสม(5)
  5.3 :เขียนบทความ บทคัดย่อ รายงานสรุปงานชีวเคมีระดับชาติหรือระดับนานาชาติ(5)
  5.4 :ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าข้อมูล และการใช้งานขั้นสูง(5)
  5.5 :ฟัง พูด เขียน อ่านวิเคราะห์ภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง(5)
[Collapse]PLO: ประยุกต์ใช้ความรู้ระดับลึก เพื่อการสื่อสาร เผยแพร่ ติดตามความก้าวหน้า ข้อค้นพบใหม่ทางด้านชีวเคมี ชีววิทยาระดับโมเลกุล และวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่เกี่ยวข้องทั้งทฤษฎีและภาคปฏิบัติ การทดลองสู่สาธารณชนและสู่วงการวิชาการได้อย่างเหมาะสมต่อผู้รับข้อมูลทั้งระดับพื้นฐานจนถึงระดับซับซ้อน โดยทำงานร่วมกับผู้อื่น มีภาวะผู้นำ-ผู้ตามอย่างมีประสิทธิภาพ
  1.3 :ตรงต่อเวลา ใช้เวลาอย่างมีประสิทธิภาพและบริหารจัดการเวลาได้อย่างเหมาะสม(1)
  2.1 :มีความรู้พื้นฐานชีวเคมี เข้าใจหลักการและใช้เครื่องมือและ เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์ชีวเคมี(2)
  2.3 :ค้นคว้าใฝ่รู้ตลอดเวลา เพิ่มพูนความรู้ คิดสังเคราะห์และประเมินองค์ความรู้ใหม่ได้(2)
  4.1 :รับผิดชอบในงานที่วางแผน และ/หรือ ได้รับมอบหมาย ทั้งส่วนตนและส่วนรวมโดยคำนึงถึงผู้อื่น(4)
  4.2 :ทำงานร่วมกับผู้อื่น แบ่งหน้าที่ตามกิจกรรมกลุ่มได้อย่างเป็นระบบ(4)
  4.3 :เลือกปฏิบัติและวางตน โดยมีภาวะผู้นำและผู้ร่วมงานอย่างถูกต้อง(4)
  4.4 :รับฟังและแบ่งปันความรู้และประสบการณ์ เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองและผู้เกี่ยวข้อง(4)
  5.1 :นำเสนอ ประมวลผลและประยุกต์ แสดงข้อมูลชีวเคมีโดยใช้ตัวเลข/สถิติ(5)
  5.2 :อธิบาย สื่อสาร และเผยแพร่ความรู้ชีวเคมีได้อย่างเหมาะสม(5)
  5.3 :เขียนบทความ บทคัดย่อ รายงานสรุปงานชีวเคมีระดับชาติหรือระดับนานาชาติ(5)
  5.4 :ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าข้อมูล และการใช้งานขั้นสูง(5)
  5.5 :ฟัง พูด เขียน อ่านวิเคราะห์ภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง(5)
[Collapse]PLO: สร้างชิ้นงานวิจัยบนฐานแนวคิดเป็นที่ยอมรับของประชาคมทางด้านชีวเคมี ชีววิทยาระดับโมเลกุล และวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่เกี่ยวข้อง เพื่อการเผยแพร่ผลงานระดับนานาชาติ
  1.3 :ตรงต่อเวลา ใช้เวลาอย่างมีประสิทธิภาพและบริหารจัดการเวลาได้อย่างเหมาะสม(1)
  2.1 :มีความรู้พื้นฐานชีวเคมี เข้าใจหลักการและใช้เครื่องมือและ เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์ชีวเคมี(2)
  2.2 :บูรณาการองค์ความรู้ชีวเคมี และเชื่อมโยงความรู้ระดับนานาชาติที่ทันสมัย(2)
  2.3 :ค้นคว้าใฝ่รู้ตลอดเวลา เพิ่มพูนความรู้ คิดสังเคราะห์และประเมินองค์ความรู้ใหม่ได้(2)
  3.1 :บูรณาการความรู้เพื่อคิดค้นวิธีการแก้ปัญหา วางแผน และออกแบบการทดลองวิจัยทางวิทยาศาสตร์ (ชีวเคมี) อย่างเป็นระบบ โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ(3)
  3.2 :ประยุกต์ความรู้และหลักการทางชีวเคมีในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ และสามารถเปรียบเทียบและสามารถเปรียบเทียบและเลือกวิธีที่ดีที่สุด(3)
  3.3 :ทำการวิเคราะห์ผลอย่างเป็นระบบ เสนอวิธีการปรับปรุง หรืองานที่จะทำต่อไป เปรียบเทียบและเชื่อมโยงบูรณาการผลกับความรู้ในปัจจุบัน และสังเคราะห์เป็นองค์ความรู้ใหม่(3)
  4.1 :รับผิดชอบในงานที่วางแผน และ/หรือ ได้รับมอบหมาย ทั้งส่วนตนและส่วนรวมโดยคำนึงถึงผู้อื่น(4)
  4.2 :ทำงานร่วมกับผู้อื่น แบ่งหน้าที่ตามกิจกรรมกลุ่มได้อย่างเป็นระบบ(4)
  4.3 :เลือกปฏิบัติและวางตน โดยมีภาวะผู้นำและผู้ร่วมงานอย่างถูกต้อง(4)
  4.4 :รับฟังและแบ่งปันความรู้และประสบการณ์ เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองและผู้เกี่ยวข้อง(4)
  5.1 :นำเสนอ ประมวลผลและประยุกต์ แสดงข้อมูลชีวเคมีโดยใช้ตัวเลข/สถิติ(5)
  5.2 :อธิบาย สื่อสาร และเผยแพร่ความรู้ชีวเคมีได้อย่างเหมาะสม(5)
  5.3 :เขียนบทความ บทคัดย่อ รายงานสรุปงานชีวเคมีระดับชาติหรือระดับนานาชาติ(5)
  5.4 :ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าข้อมูล และการใช้งานขั้นสูง(5)
  5.5 :ฟัง พูด เขียน อ่านวิเคราะห์ภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง(5)
[Collapse]PLO: แสดงออกและปฏิบัติตนภายใต้กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมทางวิชาชีพ วิชาการ และการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ตามมาตรฐานสากล ตามข้อบังคับระดับประเทศ และตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยอย่างเคร่งครัด ถูกต้อง ด้วยความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา
  1.1 :ปฏิบัติตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยและวิชาชีพ(1)
  1.2 :ซื่อสัตย์ สุจริต (ไม่คัดลอกหรือนำงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง และอ้างอิงแหล่งที่มาของงาน(1)
  1.3 :ตรงต่อเวลา ใช้เวลาอย่างมีประสิทธิภาพและบริหารจัดการเวลาได้อย่างเหมาะสม(1)
  4.1 :รับผิดชอบในงานที่วางแผน และ/หรือ ได้รับมอบหมาย ทั้งส่วนตนและส่วนรวมโดยคำนึงถึงผู้อื่น(4)
  5.5 :ฟัง พูด เขียน อ่านวิเคราะห์ภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง(5)
[Collapse]PLO: ออกแบบวางแผนและดำเนินการวิจัยจากโจทย์วิจัยที่มีความสำคัญได้ด้วยตนเองอย่างเป็นขั้นตอน โดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ วัสดุ สารเคมี และเทคโนโลยีสารสนเทศถูกต้อง เหมาะสมต่อกระบวนการทางชีวเคมี และวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่เกี่ยวข้องตามมาตรฐานสากล เพื่อการค้นพบ การสร้างองค์ความรู้ หรือการแก้ปัญหาทางชีวเคมีและสาขาที่เกี่ยวข้อง
  1.2 :ซื่อสัตย์ สุจริต (ไม่คัดลอกหรือนำงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง และอ้างอิงแหล่งที่มาของงาน(1)
  2.2 :บูรณาการองค์ความรู้ชีวเคมี และเชื่อมโยงความรู้ระดับนานาชาติที่ทันสมัย(2)
  2.3 :ค้นคว้าใฝ่รู้ตลอดเวลา เพิ่มพูนความรู้ คิดสังเคราะห์และประเมินองค์ความรู้ใหม่ได้(2)
  3.1 :บูรณาการความรู้เพื่อคิดค้นวิธีการแก้ปัญหา วางแผน และออกแบบการทดลองวิจัยทางวิทยาศาสตร์ (ชีวเคมี) อย่างเป็นระบบ โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ(3)
  3.2 :ประยุกต์ความรู้และหลักการทางชีวเคมีในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ และสามารถเปรียบเทียบและสามารถเปรียบเทียบและเลือกวิธีที่ดีที่สุด(3)
  3.3 :ทำการวิเคราะห์ผลอย่างเป็นระบบ เสนอวิธีการปรับปรุง หรืองานที่จะทำต่อไป เปรียบเทียบและเชื่อมโยงบูรณาการผลกับความรู้ในปัจจุบัน และสังเคราะห์เป็นองค์ความรู้ใหม่(3)
  4.1 :รับผิดชอบในงานที่วางแผน และ/หรือ ได้รับมอบหมาย ทั้งส่วนตนและส่วนรวมโดยคำนึงถึงผู้อื่น(4)
  4.2 :ทำงานร่วมกับผู้อื่น แบ่งหน้าที่ตามกิจกรรมกลุ่มได้อย่างเป็นระบบ(4)
  4.4 :รับฟังและแบ่งปันความรู้และประสบการณ์ เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองและผู้เกี่ยวข้อง(4)
  5.1 :นำเสนอ ประมวลผลและประยุกต์ แสดงข้อมูลชีวเคมีโดยใช้ตัวเลข/สถิติ(5)
  5.3 :เขียนบทความ บทคัดย่อ รายงานสรุปงานชีวเคมีระดับชาติหรือระดับนานาชาติ(5)
  5.4 :ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าข้อมูล และการใช้งานขั้นสูง(5)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5
1.11.21.32.12.22.33.13.23.34.14.24.34.45.15.25.35.45.5
ใช้ภาษาอังกฤษทั้งด้านการพูดและการเขียนบทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้องได้อย่างชัดเจน ถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่น
ประยุกต์ใช้ความรู้ระดับลึก เพื่อการสื่อสาร เผยแพร่ ติดตามความก้าวหน้า ข้อค้นพบใหม่ทางด้านชีวเคมี ชีววิทยาระดับโมเลกุล และวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่เกี่ยวข้องทั้งทฤษฎีและภาคปฏิบัติ การทดลองสู่สาธารณชนและสู่วงการวิชาการได้อย่างเหมาะสมต่อผู้รับข้อมูลทั้งระดับพื้นฐานจนถึงระดับซับซ้อน โดยทำงานร่วมกับผู้อื่น มีภาวะผู้นำ-ผู้ตามอย่างมีประสิทธิภาพ
สร้างชิ้นงานวิจัยบนฐานแนวคิดเป็นที่ยอมรับของประชาคมทางด้านชีวเคมี ชีววิทยาระดับโมเลกุล และวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่เกี่ยวข้อง เพื่อการเผยแพร่ผลงานระดับนานาชาติ
แสดงออกและปฏิบัติตนภายใต้กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมทางวิชาชีพ วิชาการ และการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ตามมาตรฐานสากล ตามข้อบังคับระดับประเทศ และตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยอย่างเคร่งครัด ถูกต้อง ด้วยความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา
ออกแบบวางแผนและดำเนินการวิจัยจากโจทย์วิจัยที่มีความสำคัญได้ด้วยตนเองอย่างเป็นขั้นตอน โดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ วัสดุ สารเคมี และเทคโนโลยีสารสนเทศถูกต้อง เหมาะสมต่อกระบวนการทางชีวเคมี และวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่เกี่ยวข้องตามมาตรฐานสากล เพื่อการค้นพบ การสร้างองค์ความรู้ หรือการแก้ปัญหาทางชีวเคมีและสาขาที่เกี่ยวข้อง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1นักศึกษาสามารถแสดงออกและปฏิบัติตนภายใต้กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมทางวิชาชีพ วิชาการ และการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ตามมาตรฐานสากล ตามข้อบังคับระดับประเทศ และตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยอย่างเคร่งครัด ถูกต้อง ด้วยความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา และสามารถใช้ภาษาอังกฤษทั้งด้านการพูดและการเขียนบทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้องได้อย่างชัดเจน ถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่น
2นักศึกษาสามารถออกแบบวางแผนและดำเนินการวิจัยจากโจทย์วิจัยที่มีความสำคัญได้ด้วยตนเองอย่างเป็นขั้นตอน โดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ วัสดุ สารเคมี และเทคโนโลยีสารสนเทศถูกต้อง เหมาะสมต่อกระบวนการทางชีวเคมี และวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่เกี่ยวข้องตามมาตรฐานสากล เพื่อการค้นพบ การสร้างองค์ความรู้ หรือการแก้ปัญหาทางชีวเคมีและสาขาที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ระดับลึก เพื่อการสื่อสาร เผยแพร่ ติดตามความก้าวหน้า ข้อค้นพบใหม่ทางด้านชีวเคมี ชีววิทยาระดับโมเลกุล และวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่เกี่ยวข้องทั้งทฤษฎีและภาคปฏิบัติ การทดลองสู่สาธารณชนและสู่วงการวิชาการได้อย่างเหมาะสมต่อผู้รับข้อมูลทั้งระดับพื้นฐานจนถึงระดับซับซ้อน โดยทำงานร่วมกับผู้อื่น มีภาวะผู้นำ-ผู้ตามอย่างมีประสิทธิภาพ
3นักศึกษาสามารถสร้างชิ้นงานวิจัยบนฐานแนวคิดเป็นที่ยอมรับของประชาคมทางด้านชีวเคมี ชีววิทยาระดับโมเลกุล และวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่เกี่ยวข้อง เพื่อการเผยแพร่ผลงานระดับนานาชาติ

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

๑.  สำเร็จการศึกษา หรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาก่อนวันเปิดภาคการศึกษา ในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ทุกสาขาวิชา) เภสัชศาสตรบัณฑิต ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต หรือแพทยศาสตรบัณฑิต รวมทั้งผู้ที่สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีจากต่างประเทศในสาขาดังกล่าวหรือใกล้เคียง จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง

๒.  ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ หรือเทียบเท่า

๓.   มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย

๔. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาโท แบบ ก211010101010
2010101010
300101010
A:รวม1020303030
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00101010

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   121233.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

1. ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา   

2. ต้องศึกษารายวิชาต่าง ๆ ตามโครงสร้างของหลักสูตรคือ ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต โดยต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐

3. ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

4.ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

5. ต้องเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ 

6. ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์จะต้องได้รับการเผยแพร่หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้เผยแพร่ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุม (Proceedings) ตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
Curriculum Mapping.pdf
17/10/2563 9:35:22203.76 KB
คำสั่งจ้างต่อพนักงานมหาวิทยาลัย.pdf
17/10/2563 9:36:291.24 MB
มคอ2.pdf
17/10/2563 9:34:3824.82 MB