ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ      
  จำนวนปริญญา    
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน      
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ    
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน  
   หลักสูตรสังกัดคณะ    
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.    
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.    
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย :  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ :  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน :  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาตรี 6 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาชีพ
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.แพทยศาสตรบัณฑิตDoctor of Medicineพ.บ.M.D. 
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก      
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาตรี 6 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาชีพ251

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ :  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา :  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น :
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_3
 
Name 
Date modified 
Size 
MOU1_3_5.pdf
9/7/2563 17:27:387.45 MB
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา :  

หลักสูตร

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่  ปี  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
19/10/2563 15:04:12857.46 KB
vichachip.pdf
19/10/2563 15:04:59380.12 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์คมสันต์ วรรณไสยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ศาสตราจารย์ณหทัย วงศ์ปการันย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง วิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พวงทิพย์ คุณานุสรณ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: วท.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อดิศักดิ์ ตันติวรวิทย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: Clinical Fellow สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์อรรถวุฒิ ดีสมโชควุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: พ.บ. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์คมสันต์ วรรณไสยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: ว.ว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ศาสตราจารย์ณหทัย วงศ์ปการันย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: Postdoctoral Fellowship สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พวงทิพย์ คุณานุสรณ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: วท.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อดิศักดิ์ ตันติวรวิทย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: วว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์อรรถวุฒิ ดีสมโชควุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: วว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร    
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน  
ddd
 
       
     
   

25010041100016_2099_IP:หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2563)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะแพทยศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
 1.2มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
 1.3มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
 1.4เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 1.5มีคุณธรรมจริยธรรมในการดำเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 1.6ตระหนักและสำนึกในความเป็นไทย
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
 2.2สามารถวิเคราะห์ปัญหา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
 2.3สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
 2.4สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษาในศาสตร์ของตนกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 2.5เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรมและธรรมชาติ
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
 3.2สามารถสืบค้น รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
 3.3สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
 3.4มีทักษะการคิดแบบองค์รวม
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 4.2สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม และเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
 4.3มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
 4.4มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ เป็นพลเมืองที่มีคุณค่าของสังคมไทยและสังคมโลก
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับการใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
 5.2สามารถแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือนำสถิติมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
 5.3สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1ประพฤติตนอย่างมีจริยธรรมเหมาะสมกับความเป็นแพทย์
 1.2ตัดสินใจโดยใช้เหตุผลตามหลักเวชจริยศาสตร์
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ รวมทั้งการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกและเทคโนโลยีทางการแพทย์
 2.2คิดเชิงวิพากษ์ ระเบียบวิธีวิจัย ชีวสถิติ และเวชศาสตร์เชิงประจักษ์
 2.3มีความรู้ทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
 2.4เข้าใจหลักการบริบาลเวชกรรมแบบองค์รวม
 2.5เข้าใจระบบสุขภาพของประเทศไทย
 2.6เข้าใจหลักการพื้นฐานด้านระบบคุณภาพโรงพยาบาล และความปลอดภัยของผู้ป่วย
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1วินิจฉัยและการวินิจฉัยแยกโรคอย่างเป็นระบบ
 3.2ตัดสินใจเลือกการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจทางรังสีวิทยา และการตรวจพิเศษอื่นอย่างสมเหตุผล และการแปลผลการตรวจตามเกณฑ์วิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
 3.3ตัดสินใจเลือกแนวทางการบริบาลและการใช้ยาอย่างสมเหตุผล โดยยึดคนเป็นศูนย์กลาง (people-centered health care)
 3.4ประเมินคุณค่าบทความและแหล่งเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1ความสัมพันธ์แบบมีส่วนร่วมระหว่างบุคคล (1) สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย ญาติ และประชาชน (2) ปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรในระบบสุขภาพ (3) แสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในสถานการณ์ที่เหมาะสม
 4.2ความรับผิดชอบ (1) แสดงความรับผิดชอบต่อผู้ป่วยและงานที่ได้รับมอบหมาย (2) แสดงความรับผิดชอบในการเรียนรู้
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข (1) เลือกและประยุกต์ใช้สถิติทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
 5.2การสื่อสาร (1) ให้ข้อมูลด้านสุขภาพและคำปรึกษาแก่ผู้ป่วย ญาติ และประชาชน (2) บันทึกเวชระเบียนและจัดทำเอกสารทางการแพทย์
 5.3การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (1) สืบค้นข้อมูลทางการแพทย์ (2) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอข้อมูลอย่างเหมาะสมกับวิชาชีพ
[Collapse]หัวข้อ: 6.ทักษะพิสัยเฉพาะวิชาชีพ
 6.1สัมภาษณ์ประวัติและตรวจร่างกาย
 6.2ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
 6.3ทำหัตถการทางการแพทย์
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: PLO1
  1.1 :ประพฤติตนอย่างมีจริยธรรมเหมาะสมกับความเป็นแพทย์(1)
  1.2 :ตัดสินใจโดยใช้เหตุผลตามหลักเวชจริยศาสตร์(1)
  4.2 :ความรับผิดชอบ (1) แสดงความรับผิดชอบต่อผู้ป่วยและงานที่ได้รับมอบหมาย (2) แสดงความรับผิดชอบในการเรียนรู้(4)
[Collapse]PLO: PLO2
  5.2 :การสื่อสาร (1) ให้ข้อมูลด้านสุขภาพและคำปรึกษาแก่ผู้ป่วย ญาติ และประชาชน (2) บันทึกเวชระเบียนและจัดทำเอกสารทางการแพทย์(5)
[Collapse]PLO: PLO3
  1.1 :ประพฤติตนอย่างมีจริยธรรมเหมาะสมกับความเป็นแพทย์(1)
  1.2 :ตัดสินใจโดยใช้เหตุผลตามหลักเวชจริยศาสตร์(1)
  2.1 :มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ รวมทั้งการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกและเทคโนโลยีทางการแพทย์(2)
  2.2 :คิดเชิงวิพากษ์ ระเบียบวิธีวิจัย ชีวสถิติ และเวชศาสตร์เชิงประจักษ์(2)
  2.3 :มีความรู้ทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม(2)
  2.4 :เข้าใจหลักการบริบาลเวชกรรมแบบองค์รวม(2)
  2.5 :เข้าใจระบบสุขภาพของประเทศไทย(2)
  2.6 :เข้าใจหลักการพื้นฐานด้านระบบคุณภาพโรงพยาบาล และความปลอดภัยของผู้ป่วย(2)
  4.2 :ความรับผิดชอบ (1) แสดงความรับผิดชอบต่อผู้ป่วยและงานที่ได้รับมอบหมาย (2) แสดงความรับผิดชอบในการเรียนรู้(4)
  6.1 :สัมภาษณ์ประวัติและตรวจร่างกาย(718877916)
  6.2 :ตรวจทางห้องปฏิบัติการ(718877916)
  6.3 :ทำหัตถการทางการแพทย์(718877916)
[Collapse]PLO: PLO4
  3.1 :วินิจฉัยและการวินิจฉัยแยกโรคอย่างเป็นระบบ(3)
  3.2 :ตัดสินใจเลือกการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจทางรังสีวิทยา และการตรวจพิเศษอื่นอย่างสมเหตุผล และการแปลผลการตรวจตามเกณฑ์วิชาชีพที่เกี่ยวข้อง(3)
  3.3 :ตัดสินใจเลือกแนวทางการบริบาลและการใช้ยาอย่างสมเหตุผล โดยยึดคนเป็นศูนย์กลาง (people-centered health care)(3)
  3.4 :ประเมินคุณค่าบทความและแหล่งเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์(3)
  5.3 :การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (1) สืบค้นข้อมูลทางการแพทย์ (2) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอข้อมูลอย่างเหมาะสมกับวิชาชีพ(5)
[Collapse]PLO: PLO5
  2.1 :มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ รวมทั้งการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกและเทคโนโลยีทางการแพทย์(2)
  2.2 :คิดเชิงวิพากษ์ ระเบียบวิธีวิจัย ชีวสถิติ และเวชศาสตร์เชิงประจักษ์(2)
  2.3 :มีความรู้ทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม(2)
  2.4 :เข้าใจหลักการบริบาลเวชกรรมแบบองค์รวม(2)
  2.5 :เข้าใจระบบสุขภาพของประเทศไทย(2)
  2.6 :เข้าใจหลักการพื้นฐานด้านระบบคุณภาพโรงพยาบาล และความปลอดภัยของผู้ป่วย(2)
  3.1 :วินิจฉัยและการวินิจฉัยแยกโรคอย่างเป็นระบบ(3)
  3.2 :ตัดสินใจเลือกการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจทางรังสีวิทยา และการตรวจพิเศษอื่นอย่างสมเหตุผล และการแปลผลการตรวจตามเกณฑ์วิชาชีพที่เกี่ยวข้อง(3)
  3.3 :ตัดสินใจเลือกแนวทางการบริบาลและการใช้ยาอย่างสมเหตุผล โดยยึดคนเป็นศูนย์กลาง (people-centered health care)(3)
  4.2 :ความรับผิดชอบ (1) แสดงความรับผิดชอบต่อผู้ป่วยและงานที่ได้รับมอบหมาย (2) แสดงความรับผิดชอบในการเรียนรู้(4)
  5.1 :ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข (1) เลือกและประยุกต์ใช้สถิติทางวิทยาศาสตร์การแพทย์(5)
[Collapse]PLO: PLO6
  4.1 :ความสัมพันธ์แบบมีส่วนร่วมระหว่างบุคคล (1) สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย ญาติ และประชาชน (2) ปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรในระบบสุขภาพ (3) แสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในสถานการณ์ที่เหมาะสม(4)
  5.2 :การสื่อสาร (1) ให้ข้อมูลด้านสุขภาพและคำปรึกษาแก่ผู้ป่วย ญาติ และประชาชน (2) บันทึกเวชระเบียนและจัดทำเอกสารทางการแพทย์(5)
[Collapse]PLO: PLO7
  5.3 :การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (1) สืบค้นข้อมูลทางการแพทย์ (2) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอข้อมูลอย่างเหมาะสมกับวิชาชีพ(5)
[Collapse]PLO: PLO8
  4.1 :ความสัมพันธ์แบบมีส่วนร่วมระหว่างบุคคล (1) สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย ญาติ และประชาชน (2) ปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรในระบบสุขภาพ (3) แสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในสถานการณ์ที่เหมาะสม(4)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5[Collapse]6
1.11.22.12.22.32.42.52.63.13.23.33.44.14.25.15.25.36.16.26.3
PLO1
PLO2
PLO3
PLO4
PLO5
PLO6
PLO7
PLO8
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
11. นักศึกษารับทราบ และปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามกฎระเบียบของคณะฯ และมหาวิทยาลัย รวมทั้งจรรยาบรรณนิสิตนักศึกษาแพทย์ไทย (เฉพาะข้อ 1 คือ มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ และ 3 คือ มีความรู้ ทักษะทางวิชาชีพ เจตคติ ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับระบบสาธารณสุข) 2. นักศึกษามีสุขภาพกายและใจที่ดีตามเกณฑ์ฯ ไม่มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย และสามารถควบคุมการเจ็บป่วยได้ดี ถ้ามีการเจ็บป่วย 3. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐานได้ถูกต้อง รวมทั้งมีเจตคติที่ดี 4. นักศึกษามีการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สร้างสรรค์ และใฝ่รู้ ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ 5. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจด้านการทำวิจัย และการวิเคราะห์ทางสถิติที่เกี่ยวข้อง 6. นักศึกษามีความเข้าใจในบทบาทการทำงานร่วมกับผู้อื่น และสามารถแสดงบทบาทผู้นำ รวมทั้งการสื่อสาร ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ 7. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ 8. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมของภาคเหนือ
21. นักศึกษารับทราบ และปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามกฎระเบียบของคณะฯ และมหาวิทยาลัย รวมทั้งจรรยาบรรณนิสิตนักศึกษาแพทย์ไทย (เฉพาะข้อ 1 คือ มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ และ 3 คือ มีความรู้ ทักษะทางวิชาชีพ เจตคติ ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับระบบสาธารณสุข) 2. นักศึกษามีสุขภาพกายและใจที่ดีตามเกณฑ์ฯ ไม่มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย และสามารถควบคุมการเจ็บป่วยได้ดี ถ้ามีการเจ็บป่วย 3. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐานได้ถูกต้อง รวมทั้งมีเจตคติที่ดี 4. นักศึกษามีการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สร้างสรรค์ และใฝ่รู้ ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ 5. นักศึกษามีความเข้าใจในบทบาทการทำงานร่วมกับผู้อื่น และสามารถแสดงบทบาทผู้นำ รวมทั้งการสื่อสาร ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ 6. มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ 7. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมของภาคเหนือ
31. นักศึกษารับทราบ และปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามกฎระเบียบของคณะฯ และมหาวิทยาลัย รวมทั้งจรรยาบรรณนิสิตนักศึกษาแพทย์ไทย (เฉพาะข้อ 1 คือ มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ และ 3 คือ มีความรู้ ทักษะทางวิชาชีพ เจตคติ ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับระบบสาธารณสุข) 2. นักศึกษามีสุขภาพกายและใจที่ดีตามเกณฑ์ฯ ไม่มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย และสามารถควบคุมการเจ็บป่วยได้ดี ถ้ามีการเจ็บป่วย และสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับ นศพ. รุ่นน้องได้ 3. มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐานได้ถูกต้อง รวมทั้งมีเจตคติที่ดี 4. นักศึกษามีการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สร้างสรรค์ และใฝ่รู้ ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ และศึกษาต่อเนื่อง และแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ 5. นักศึกษาสามารถทำงานวิจัยเป็นกลุ่มได้ ตั้งแต่ การตั้งคำถามวิจัย การเขียนโครงร่างวิจัย การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงาน และการนำเสนอผลงานวิจัย 6. นักศึกษาสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้ ทั้งบทบาทผู้นำและผู้ตามที่ดี รวมทั้งมีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์ 7. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ 8. นักศึกษาสามารถปรับตัวให้เข้ากับขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมได้ ภายใต้การกำกับดูแลหรือชี้แนะของอาจารย์
41. นักศึกษาปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามกฎระเบียบของคณะฯ และมหาวิทยาลัย รวมทั้งจรรยาบรรณนิสิตนักศึกษาแพทย์ไทยทุกข้อ และสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับ นศพ. รุ่นน้องได้ 2. นักศึกษามีสุขภาพกายและใจที่ดีตามเกณฑ์ฯ ไม่มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย และสามารถควบคุมการเจ็บป่วยได้ดี ถ้ามีการเจ็บป่วย และสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับ นศพ. รุ่นน้องได้ 3. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพ ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิกได้ถูกต้อง ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์หรือแพทย์ประจำบ้าน รวมทั้งมีเจตคติที่ดี 4. นักศึกษามีการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สร้างสรรค์ และใฝ่รู้ ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ และศึกษาต่อเนื่อง และแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ 5. นักศึกษาสามารถทำงานวิจัยเป็นกลุ่มได้ ตั้งแต่ การตั้งคำถามวิจัย การเขียนโครงร่างวิจัย การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงาน และการนำเสนอผลงานวิจัย 6. นักศึกษาสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้ ทั้งบทบาทผู้นำและผู้ตามที่ดี รวมทั้งมีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์ 7. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการดูแลรักษาผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง ตามระเบียบของคณะฯ 8. นักศึกษาสามารถปรับตัวให้เข้ากับขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมได้ ภายใต้การกำกับดูแลหรือชี้แนะของอาจารย์
51. นักศึกษาปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามกฎระเบียบของคณะฯ และมหาวิทยาลัย รวมทั้งจรรยาบรรณนิสิตนักศึกษาแพทย์ไทยทุกข้อ และสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับ นศพ. รุ่นน้องได้ 2. นักศึกษามีสุขภาพกายและใจที่ดีตามเกณฑ์ฯ ไม่มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย และสามารถควบคุมการเจ็บป่วยได้ดี ถ้ามีการเจ็บป่วย สามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับ นศพ. รุ่นน้องได้ และสามารถเป็นตัวอย่างที่ดี และให้คำแนะนำด้านสุขภาพ ให้กับสังคมและชุมชนได้ 3. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพ ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิกได้ถูกต้อง ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์หรือแพทย์ประจำบ้าน รวมทั้งมีเจตคติที่ดี 4. นักศึกษาสามารถปฏิบัติได้ โดยมีอาจารย์หรือแพทย์ประจำบ้านให้คำปรึกษาได้ เมื่อต้องการความช่วยเหลือ รวมทั้งสามารถให้คำแนะนำแก่ นศพ. รุ่นน้องได้ 5. นักศึกษาสามารถใช้หลักการเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ ในการวิเคราะห์/วิพากษ์ผลงานวิจัย รวมทั้งการนำไปประยุกต์ใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วย ภายใต้การดูแลของอาจารย์ 6. นักศึกษาสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้ทั้งบทบาทผู้นำและผู้ตามที่ดี และมีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยมีอาจารย์หรือแพทย์ประจำบ้านให้คำปรึกษาได้ เมื่อต้องการความช่วยเหลือ 7. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการดูแลรักษาผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง ตามระเบียบของคณะฯ
61. นักศึกษาปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามกฎระเบียบของคณะฯ และมหาวิทยาลัย รวมทั้งจรรยาบรรณนิสิตนักศึกษาแพทย์ไทยทุกข้อ และสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับ นศพ. รุ่นน้องได้ และสามารถให้คำแนะนำ หรือตักเตือน นศพ. ที่ทำผิดได้ รวมทั้งปฏิบัติตนได้สอดคล้องกับข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม 2. นักศึกษามีสุขภาพกายและใจที่ดีตามเกณฑ์ฯ ไม่มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย และสามารถควบคุมการเจ็บป่วยได้ดี ถ้ามีการเจ็บป่วย สามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับ นศพ. รุ่นน้องได้ และสามารถเป็นตัวอย่างที่ดี และให้คำแนะนำด้านสุขภาพ ให้กับสังคมและชุมชนได้ 3. นักศึกษาสามารถนำความรู้และทักษะทางวิชาชีพไปประยุกต์ใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วย ให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุข ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์หรือแพทย์ประจำบ้าน รวมทั้งมีเจตคติที่ดี 4. นักศึกษาสามารถปฏิบัติได้ โดยมีอาจารย์หรือแพทย์ประจำบ้านให้คำปรึกษาได้ เมื่อต้องการความช่วยเหลือ รวมทั้งสามารถให้คำแนะนำแก่ นศพ. รุ่นน้องได้ 5. นักศึกษาสามารถใช้หลักการเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ ในการวิเคราะห์/วิพากษ์ผลงานวิจัย รวมทั้งการนำไปประยุกต์ใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วย ภายใต้การดูแลของอาจารย์ 6. นักศึกษาสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้ทั้งบทบาทผู้นำและผู้ตามที่ดี และมีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยมีอาจารย์หรือแพทย์ประจำบ้านให้คำปรึกษาได้ เมื่อต้องการความช่วยเหลือ 7. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ สามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้คำแนะนำกับ นศพ. รุ่นน้อง รวมทั้งปฏิบัติตนได้สอดคล้องกับข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม และสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้คำแนะนำกับ นศพ. รุ่นน้อง รวมทั้งปฏิบัติตนได้สอดคล้องกับข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม 8. นักศึกษาสามารถปรับตัวให้เข้ากับขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับสุขภาพ ในชุมชนและสังคมที่เกี่ยวข้องได้

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
  1. สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นโรคหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคในการศึกษา
2. นักศึกษาที่โอนย้ายจากสถาบันอุดมศึกษา ต้องมีคุณสมบัติตามข้อ 1 และได้ศึกษาอยู่ในสถาบันอุดมศึกษาเดิม ไม่น้อยกว่า 1 ปีการศึกษา
3. นักศึกษาเพื่อปริญญาที่สอง ต้องสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัย หรือสถาบันอุดมศึกษา
4. เงื่อนไขเพิ่มเติมอื่นๆ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกำหนดโดยความเห็นชอบของมหาวิทยาลัย
 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
256325642565256625672568
ปริญญาตรี 6 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาชีพ1250250250250250250
20250250250250250
300250250250250
4000250250250
50000250250
600000250
A:รวม250500750100012501500
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00000250

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   40000.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
  นักศึกษาที่จะได้รับการเสนอให้ได้รับปริญญาตรี ต้องผ่านเงื่อนไขดังต่อไปนี้
ปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต
(๑) ต้องเรียนกระบวนวิชาต่างๆให้ครบตามหลักสูตรและเงื่อนไขของสาขาวิชาแพทยศาสตร์และต้องไม่มีกระบวนวิชาใดยังคงได้รับอักษรลำดับขั้น I หรือ P
(๒) ต้องใช้เวลาในการเรียนไม่น้อยกว่า 6 ปีการศึกษา หรือ 12 ภาคการศึกษาปกติ 
     สำหรับนักศึกษาที่โอนมาจากสถาบันอุดมศึกษา ให้นับเวลาที่ศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาเดิมและเวลาที่ศึกษาในมหาวิทยาลัยรวมกัน
(๓) มีค่าลำดับขั้นสะสมเฉลี่ยในกระบวนวิชาที่กำหนดเป็นวิชาเอกไม่น้อยกว่า 2.00 และมีค่าลำดับขั้นสะสมเฉลี่ยตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 2.00
(4) เข้ารับการทดสอบความรู้และทักษะภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ก่อนการสำเร็จการศึกษา ตามประกาศของมหาวิทยาลัย
(5) ต้องสอบผ่านการสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) ตามประกาศของคณะในแต่ละระยะของแผนการศึกษา 
(6) สำหรับนักศึกษาผู้ได้รับปริญญาตรี หรือเทียบเท่าที่เข้าศึกษาเพื่อรับปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเป็นปริญญาที่สอง ต้องลงทะเบียนเรียนในสาขาวิชาแพทยศาสตร์อีกไม่น้อยกว่า 54 หน่วยกิต ทั้งนี้ หน่วยกิตสะสมรวมเพื่อสำเร็จการศึกษาต้องเป็นไปตามที่หลักสูตรสาขาวิชาแพทยศาสตร์กำหนด
(7) ไม่มีหนี้สินใดๆ ต่อคณะ และ/หรือ มหาวิทยาลัย
(8) เป็นผู้มีคุณสมบัติเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยว่าด้วยการพิจารณาเกียรติและศักดิ์ของนักศึกษาที่จะเสนออนุมัติให้ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรบัณฑิต ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง อนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรของมหาวิทยาลัย

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
ตารางชี้แจง.pdf
20/5/2564 9:51:1793.04 KB
มคอ2.pdf
20/5/2564 9:52:048.09 MB